PresentationPDF Available

เอกสารนำเสนอ ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย เพื่องานแถลงข่าว “การผลักดันบำนาญถ้วนหน้า สู่นโยบายสำคัญพรรคการเมือง” โดยสภาองค์กรของผู้บริโภค

Authors:

Abstract and Figures

ผู้ร่วมแถลง ประกอบด้วย ๑.นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ๒.สารี อ๋องสมหวัง สภาองค์กรของผู้บริโภค ๓.นิมิตร์ เทียนอุดม เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการ ๔.หนูเกณ อินทจันทร์ เครือข่ายสลัมสี่ภาค ตัวแทนผู้สูงอายุ ๕.ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Content may be subject to copyright.
ดร.ทีปกรจิร์ฐติกุลช
คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นพฤหัสบดีที 12 มกราคม 2566 เวลา 14.00 15.30 .
การผลัก "านาญถ้วนหน" สูนโยบายสําคญพรรคการเมือง
โดย สภาองค์กรของผู้บรโภค
2
ประเด็นคาถาม:
จจัยสาคัญทีจะทาให้บานาญถ้วนหน้าเกิดขึนได้จริง คืออะไร?
3
ขอยอนอดีตเกียวกบขอเสนอจากนักเศรษฐศาสตรนนาของประเทศ
4
9 ก.ย. 52
https://www.youtube.com/watch?v=AArjciemUjs
9 ก.ย. 52
5
https://www.youtube.com/watch?v=AArjciemUjs
“ผมคิดว่า อยู่ในวิสัยทีจะบูรณาการกันได้ ถ้าตังใจจะบูรณาการ ไม่ได้ตังท่าอย่างเดียว
แต่เราตองคานึงต่อไปด้วย การบูรณาการไม่ใช่ช่วงออกแบบเท่านัน ช่วงการดําเนินการ .. สิงหนึงทีข้าราชการทุกคน
หวงแหนมาก ก็คือกฎหมายทีตัวเองดูแล ..
ขันต้นเลย กฎหมายอันนีจะต้องไม่มีรัฐมนตรีกระทรวงการคลัง หรือ รัฐมนตรี X รัฐมนตรี Y เปนผู้รักษาการแต่ผู้
เดียว มันจะต้องมีมากกว่า 1 รัฐมนตรี”
6
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา
นักวิชาการเกียรติคุณ สถาบันวิจัยเพือการพัฒนาประเทศไทย
ใครๆก็มีบํานาญได้!
ลงเอยอย่างไร? 9 ก.ย. 52
https://www.youtube.com/watch?v=SrJ2aeRSDLA&t=99s
9 .. 52
9 ก.ย. 52
าหรับงานออกแบบระบบบํานาญของชาตินอกจากงานศึกษาวิจัยในชุดนีทราบว่า ยังมีของกระทรวงการคลังอีกชุด
หนึงซึงถึงขันเสนอออกเปนกฎหมาย ดังนัน ทังสองฝายจะต้องช่วยกันคิดและถอดออกมาตอบโจทย์ทีเปดให้รับฟ
วันนีโดยเฉพาะข้อสงสัยเรืองจํานวนเงินเริมต้น 500 บาท ทีรัฐบาลปจจุบันสัญญาว่าจะจ่ายเปนเงินเบียยังชีพให้กับ
ผู้สูงอายุ ซึงต่อไปเงินจานวนนีจะปูดขึน ยังไม่รวมกับอัตราเงินเฟ้อทีจะเกิดต่อไป อยากฝากให้ช่วยหาทางจัดการ
ไฟแนนซ์ให้เกิดประสิทธิภาพทีสุด
….ซึงรัฐจะคานึงถึงตลอดว่าเงินทีได้มาจ่ายนันมาจากส่วนไหน ขณะทีคนทัวไปมักจะคิดว่ารัฐเปนอาเสีย ก็จะคอย
แต่รอรับการช่วยเหลืออย่างเดียว ทังทีข้อเท็จจริงแล้วทุกบาททุกสตางค์ทีรัฐมีนันมาจากพวกเรา ต้องหาเงินจาก
ประชาชนมาเพือใหกับประชาชนอีกกลุ่มหนึง ซึงไม่ใช่เปนเงินฟรีมาจากรัฐทีลอยอยู่บนฟ้า แต่มาจากประชาชน
วยกัน”
7
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา กวิชาการเกียรติคุณ สถาบันวิจัยเพือการพัฒนาประเทศไทย
ลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ มนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผงอายุไทย (มส.ผส.) สนับสนุนโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดเวทีระดมความเห็นเชิงนโยบายเรือง “การออกแบบระบบบํานาญแห่งชาติ”
https://www.ryt9.com/s/prg/537504
11 มี.ค. 52
7
การจัดตังกองทุนบานาญแห่งชาติขึนเพือสร้างหลักประกันด้านรายได้ยามชราภาพให้ครอบคลุมถ้วนหน้า โดยให้
ประชาชนทุกคนทีไม่ใช่ข้าราชการหรือข้าราชการบํานาญ เข้ามามีส่วนร่วมในการออม สําหรับผู้มีอายุ 20 -59 ป และ
รัฐบาลมีบทบาทในการอุดหนุนทางการเงินบางส่วนเท่านัน ่วนผู้มีอายุมากว่า 60 ปนไป หมายถึงผู้ทีรับเบียยังชีพ
ในปัจจุบัน รัฐบาลเปนผู้รับผิดชอบทางการเงินทังหมด เนืองจากไม่สามารถออมเงินภายใตระบบใหม่ได้ ฐบาลจ่าย
ให้ทุกคน
8
ดร.วรเวศม์ สุวรรณระดา จากคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะนักวิจัยผ้ออกแบบระบบบํานาญแห่งชาติ
ลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ มนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผงอายุไทย (มส.ผส.) สนับสนุนโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดเวทีระดมความเห็นเชิงนโยบายเรือง “การออกแบบระบบบํานาญแห่งชาติ”
https://www.ryt9.com/s/prg/537504
11 .. 52
11 มี.ค. 52
8
ตัวอย่างงานวิจัยสําคัญทีเกียวข้อง เริมศึกษากันมาตังแต่ 15 ปก่อน
วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ และคณะ, 2551. หลักประกันด้านรายได้สําหรับผู้สูงอายุไทย. สถาบันวิจัยเพือการพัฒนาประเทศ
ไทย. กรุงเทพฯ
สมชัย จิตสุชน จิราภรณ์ แผลงประพันธ์ ยศ วัชระคุปต์ และ นันทพร เมธาคุณวุฒิ. 2554. สู่ระบบสวัสดิการสังคมถ้วนหน้า
ภายในป พ.ศ. 2560. สถาบันวิจัยเพือการพัฒนาประเทศไทย.รายงานฉบับสมบูรณ์เสนอต่อสานักงานกองทุนสนับสนุน
การสรางเสริมสุขภาพ และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์.
วรเวศม สุวรรณระดา และ วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์. 2553. สวัสดิการยามชรา บานาญแห่งชาติ. มูลนิธิสถาบันวิจัยและ
พัฒนาผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ
สถาบันวิจัยเพือการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ (สทส.) และ สานักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ (สท.) 2555. การประมาณการงบประมาณสําหรับผู้สูงอายุ
และแหล่งทีมาของเงิน. สถาบันวิจัยเพือการพัฒนาประเทศไทย. กรุงเทพฯ
9
ตัวอย่างงานวิจัยสําคัญทีเกียวข้อง เริมศึกษากันมาตังแต่ 15 ปก่อน (ต่อ)
วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์. 2556. การออกแบบระบบบานาญแห่งชาติ นโยบายและการจัดการ. สถาบันวิจัยเพือการพัฒนา
ประเทศไทย. กรงเทพฯ
วรเวศม สุวรรณระดา. 2558. การปฏิรประบบบํานาญกับความยังยืนทางการคลัง. สัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศ
ไทย 2558
สถาบันวิจัยเพือการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ). 2558. การบูรณาการระบบบานาญแห่งชาติ. สถาบันวิจัยเพือการ
พัฒนาประเทศไทย. กรงเทพฯ
10
11
ไมใชเพียงแคงานวิจัยเทานั
ตัวอย่างความพยายามขับเคลือนของภาคประชาชนและภาคการเมือง
1. ร่างพระราชบัญญัติบานาญพืนฐานถ้วนหน้า พ.ศ. .... (โดย นางสาววรรณวิภา ไม้สน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับ คณะ
เปนผู้เสนอ)
2. ร่างพระราชบัญญัติบานาญแห่งชาติ พ.ศ. .... (โดย นายนิมิตร์ เทียนอุดม กับ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตัง เปนผู้เสนอ)
3. ร่างพระราชบัญญัติเงินบานาญประชาชน พ.ศ. .... (โดย นายประสงคูรณ์พงศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ เป
ผู้เสนอ)
4. ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการการออมเพือการเกษียณแห่งชาติ (ฉบับที ...) พ.ศ. .... (โดย นายพิสิฐ ลีอาธรรม และ
คณะ เปนผู้เสนอ)
12
13
ความพยายามของภาคประชาชน และ ภาคการเมือง เพือผลักดันระบบบํานาญคุ้มครองความยากจน ยังไม่ประสบความสําเร็จ
โดยข้อคิดเห็นจากหน่วยงานทีเกียวข้องสําหรับ ร่าง พรบ. ฉบับต่าง ๆ ทําให้ไม่สามารถผ่านเข้าสภาได้..
“ทาให้เกิดภาระผูกพันงบประมาณในอนาคตทีเพิมมากขึน ึงอาจส่งผลกระทบต่อฐานะทางการคลังของ
ประเทศในระยะยาว”
“เปนการจ่ายเงินบํานาญซําซ้อน ทีเปนภาระต่องบประมาณของประเทศ”
“การกาหนดให้มีระบบบํานาญพืนฐานถ้วนหน้าจะทาให้เกิดภาระผูกพันงบประมาณในอนาคตทีเพิมมากขึ
ซึงอาจส่งผลกระทบต่อฐานะทางการคลังของประเทศในระยะยาว ”
รายงานสรุปความคิดเห็นและผลการวิเคราะห์ผลกระทบทีอาจจะเกิดขึน โดยสํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สําหรับ
1. ร่างพระราชบัญญัติบํานาญพืนฐานถ้วนหน้า พ.ศ. .... (โดย นางสาววรรณวิภา ไม้สน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับ คณะ เป็นผู้เสนอ)
2. ร่างพระราชบัญญัติบํานาญแห่งชาติ พ.ศ. .... (โดย นายนิมิตร์ เทียนอุดม กับ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตัง เป็นผู้เสนอ)
3. ร่างพระราชบัญญัติเงินบํานาญประชาชน พ.ศ. .... (โดย นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ เปนผู้เสนอ)
4. ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการการออมเพือการเกษียณแห่งชาติ (ฉบับที ...) พ.ศ. .... (โดย นายพิสิฐ ลีอาธรรม และคณะ เปนผู้เสนอ)
14
https://lis.parliament.go.th/attach/mo
d03/mod03_20210304111205.pdf?f
bclid=IwAR0IH_oMHE9aQU6P-
453ktSfFe6mHFzs2w6YpczkFZ4Jio
p29TgHW7NGnIQ
และอีกฉบับทีมีบัญชา
ไม่รับรอง
15
เมือพรรคการเมืองเริมชนโยบายบํานาญถ้วนหนา 3,000 บาท
5 ม.ค. 65
https://www.thairath.co.th/news/politic/2280052
16
แตภาควิชาการ ภาคประชาชน และภาคการเมือง กงคงพยายามส้ตอไป
ร่างพระราชบัญญัติผ้สงอายุและบํานาญพืนฐานแห่งชาติ (ฉบับท..) พ.ศ. ....
เสนอโดย นางสาวรังสิมา รอดรัศมี สมาชิกสภาผ้แทนราษฎร (พรรคประชาธิปตย์ ) กับคณะ
และนายสมศักดิ คุณเงิน สมาชิกสภาผ้แทนราษฎร (พรรคพลังประชารัฐ)
ร่าง พ.ร.บ. ฉบับดังกล่าวมีสาระสาคัญ อาทิ
๑. เปลียนชือพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ เปนพระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบํานาญพืนฐานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๖
๒. ปรับเปลียนวิธีการจ่ายเงินและอัตราการจ่ายเงินให้กับผู้สูงอายุ จากการจ่ายเงินแบบขันบันได เปนการจ่ายเงินบานาญ
พืนฐานเปนรายเดือน เพือเปนหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุตามอัตราทีคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ ทังนีควรมีอัตราไม่
ากว่าเสนแบ่งความยากจน ทีกาหนดโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในปก่อนจ่าย ...
๓.กาหนดให้มีการศึกษาเพือปรับปรุงอัตราการจ่ายเงินบํานาญพืนฐานทุกสามป เพือให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศ
17
น.ส.รังสิมา รอดรัศมี ประธานคณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม และคณะ แถลงข่าวเกียวกับร่าง
พระราชบัญญัติผ้สงอายุและบํานาญพืนฐานแห่งชาติ (ฉบับที ..) พ.ศ. ....
https://cdc.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_ne
ws.php?nid=76021&filename=welcome2019
“มีงานวิจัยของอาจารยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทีทาให้เรา บอกว่า ถ้าจะทาให้ทุกคนพ้นเส้น
ความยากจน เบียผู้สูงอายุน่าจะอยู่ทีประมาณ 2,000 บาท/เดือน แต่เราเองก็สนับสนุนตัวเลขทีภาคประชาสังคมหรือ
ประชาชนทีกําลังเคลือนไหวตอนนี คือ 3,000 บาท/เดือน ซึงมีความเปนได้
ถ้าผู้สูงอายุทุกคนได้ 3,000 บาท ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตทีดีขึน ซึงอยู่ในวิสัยทีรัฐบาลสนับสนุนได้ แต่เราก็ต้องเพิม
มาตรการอืนๆดวย เช่น ส่งเสริมการออมตังแต่ในช่วงทีเขายังไม่เปนผู้สูงอายุ”
“ปญหา คือ เราไม่กล้าปฏิรูปวิธีใช้จ่ายงบประมาณ หน่วยราชการไหนไม่จําเปน ก็ควรจะยุบไป หรือตัดงบไป งบส่วน
ไหนไม่เกิดประสิทธิภาพ ก็ต้องตัด ถ้าทําแบบนัน เราจะมีงบมาจ่ายเบียผู้สูงอายุได้มากขึน ซึงจะเปนการสร้าง
หลักประกัน สร้างสวัสดิการให้กับผู้สูงอายุในประเทศไทยทีจะเพิมมากขึนเรือยๆ”
18
นพ.ภษิต ประคองสาย เลขาธิการมลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผ้สงอายุไทย (มส.ผส.)
https://isranews.org/article/isranews-scoop/109179-The-future-Elderly-pension-
policy-report.html
30 พ.ค.65
18
“การเพิมเบียผู้สูงอายุ น่าจะเหมือนกับเรืองหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในช่วงเริมตน ซึงตอนนันคนก็ถามว่าจะเอางบ
มาจากไหน แต่ถ้ารัฐบาลมีเจตจานงทางการเมืองทีจะปรับปรงอะไร มันจะทาได้ แต่ถ้าไม่มีเจตจํานง มันก็ไม่ไปไหน
เพราะไม่คิดจะทา ซึงวันนีเรืองการปรับเพิมเบียผู้สูงอายุมีข้อเสนอเยอะแยะไปหมด แต่ถ้าผู้กําหนดนโยบายไม่ม
เจตจานงทีจะทํา ้อเสนอต่างๆก็ไม่มีผลอะไร”
19
ผศ.ดร.ดวงมณี เลาวกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
https://isranews.org/article/isranews-scoop/109179-The-future-Elderly-pension-
policy-report.html
30 พ.ค.65
19
“เรืองนี ขึนอยู่กับเจตจานงของรัฐบาล อย่าเพิงไปบอกว่าเงินไม่พอ ใครก็พูดทังนันว่าเงินไม่พอ แต่เรืองนเปนการ
บริหารจัดการเงิน ถ้ารัฐบอกให้ประชาชนรจักออมเพือจะไดมีเงิน เราก็อยากจะกับรัฐว่า รัฐก็ต้องรักออมเหมือนกัน
อย่างลดการซืออาวุธสงครามลง ก็จะทําให้เรามีงบส่วนหนึงเข้ามาได้”
“ตอนนีเราไม่ไดอยู่ในภาวะสงคราม งบจัดซออาวุธจะลดลงไดไหม แล้วสวัสดิการทีรัฐบาลให้กับข้าราชการเยอะไป
หรือไม่ และจะปรับอย่างไรให้กระจายไปสู่ประชาชนอืนๆไดไหม ซึงรัฐบาลต้องมาคิดเรืองน แต่เท่าทีเห็น รัฐบาลไม่ได
ให้ความสําคัญกับการจัดสวัสดิการประชาชน”
20
สุรีรัตน์ ตรีมรรคา เครือข่ายประชาชนเพือรัฐสวัสดิการ
https://isranews.org/article/isranews-scoop/109179-The-future-Elderly-pension-
policy-report.html
30 พ.ค.65
20
“ถ้าไม่มีการปรับเพดานเบียยังชีพผู้สูงอายุขึนไป ตัวเลขความเหลือมลํารายได้จะยิงห่างออกไปเรือยๆ”
“วันนีทุกพรรคการเมืองไม่ว่าจะเปน ส.ส.ฝายรัฐบาล และพรรคฝายค้าน มีเสียงไปทางเดียวกันว่า ให้เพิมบํานาญ
ผู้สูงอายุ แต่ว่า ายบริหาร คือ นายกฯไม่เซ็นรับรองลงมา
21
วรรณวิภา ไม้สน ส.ส.บัญชีรายชือ พรรคก้าวไกล
https://isranews.org/article/isranews-scoop/109179-The-future-Elderly-pension-
policy-report.html
30 พ.ค.65
21
รายงานเรือง "แนวทางการเสนอกฎหมายบํานาญพืนฐานแห่งชาติ" โดย คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม
สภาผ้แทนราษฎร (2564)
สมาชิกทังฝายค้าน และฝายรัฐบาล ร่วมกันอภิปรายแสดงความเห็น ส่วนใหญ่สนับสนุนรายงานการศึกษาดังกล่าว เนืองจาก
เห็นว่าเงินบํานาญ 3,000 บาท จะช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายให้ผู้สูงอายุ และช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชน แต่เพือให้เกิด
ความคล่องตัวในการบริหารจัดการ ควรหาวิธีบริหารรูปแบบอืนทีไม่ใช่แบบราชการ เพราะมีข้อจํากัดมากทําให้เกิดความล่าช้า
ซึงหวังว่ากฎหมายบานาญพืนฐานแห่งชาติ จะเปนการปกธงสวัสดิการถ้วนหน้า เพือให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างทัวถึง
หลังจากทีประชุมสภาผู้แทนราษฎร ใช้เวลาพิจารณารายงานการศึกษาแนวทางการเสนอกฎหมายบานาญพืนฐานแห่งชาติ
เกือบ 5 ชม. ได้ผ่านความเห็นชอบต่อรายงานดังกล่าว เพือให้สภาส่งต่อไปยังรัฐบาล ให้ดําเนินการ
ตามรายงานต่อไป
22
สภาฯ เห็นชอบส่งต่อ ‘บํานาญแห่งชาติ’ ให้รัฐบาล หวังลดเหลือมลํา-สร้างสวัสดิการ
https://workpointtoday.com/politics-par27052562/
สภาฯหนุน’บํานาญแห่งชาติ’เตรียมส่งต่อรัฐบาล หวังเปน ‘สวัสดิการถ้วนหน้า-ลดเหลือมลํา’
https://www.dailynews.co.th/news/1090159/
27 พ.ค.65
22
ตนหวังวา ส.ส.ในสภาจะเห็นดวยกับประชาชนในการนํารายงานฉบับนี้เสนอตอและกดดัน พล.อ.ประยุทธใหเซ็นรับรอง
กฎหมายบํานาญพื้นฐานถวนหนาฉบับสุดทายที่อยูในมือเขาสูสภาตอไป
23
วรรณวิภา ไม้สน ส.ส.บัญชีรายชือ พรรคก้าวไกล
https://www.matichonweekly.com/hot-news/article_559467
27 พ.ค.65
23
เรากาลังเผชิญสถานการณ์หลังโควิด-19 ทีซําเติมด้วยวิกฤตเศรษฐกิจ สรางปัญหาดานปากท้อง การอยู่การกิน ที
เชือมโยงกับมิติสุขภาพอย่างองค์รวม ในบริบทความท้าทายของสังคมผู้สูงอายุ ทีคาดว่าจะมีจํานวนผ้สงวัยเพิมป
ละประมาณ 1 ล้านคน ต่อเนองไปอีก 20 ป จึงจําเป นอย่างยงทีเราจะต้องร่วมมือกัน วางแผนชีวิต และ
ออกแบบระบบเพือเตรียมพร้อม เพราะนีไม่ใช่เรืองของผ้สงวัยเพียงอย่างเดียว แต่เปนเรืองของคนร่น
จจุบันและคนร่นถัดไป ทีจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมกันกาหนดภาพอนาคตอันพึงประสงค์นีไปด้วยกัน
24
นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
https://www.thecoverage.info/news/content/4369
16 ธ.ค.65
24
“ขันตอนสาคัญหลังเปนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติแล้ว ข้อเสนอนีก็จะถกส่งเข้าส่คณะรัฐมนตรี (ครม.) เพือให้
เกิดการขับเคลือนต่อ แต่อีกส่วนทีเราจะทําคือการชวนสังคมมาช่วยกันทาให้เรืองนีเกิดขึนด้วย เพราะเราไม่ได้
องการทีจะสือสารเรืองถึงนักการเมือง หรือผู้มีอํานาจเท่านัน แต่ยังต้องการพูดกับสังคมโดยรวมให้รับรและเข้าใจถึง
เรืองนี ทังในส่วนของการวางระบบและการปรับพฤติกรรมการออมต่างๆ
25
นพ.สมศักดิ ชุณหรัศมิ ประธานกรรมการมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.)
https://www.thecoverage.info/news/content/4369
16 ธ.ค.65
25
“สิงสาคัญคือการเปลียนวิธีคิดของผู้คน ว่าเรืองนไม่ใช่เรืองเฉพาะผู้สูงอายุ แต่เปนเรืองทีเกียวข้องกับคนทุกวัย
ส่วนหลักประกันก็ไม่ใช่เพียงบานาญหรือตัวเงินเท่านัน แต่คือทัง 5 เสาหลัก และเรืองนีก็ไม่ใช่เรืองของรัฐบาล
เท่านัน แต่เปนเรืองของทุกคน ดังนันเปาหมายหนึงของมติสมัชชาสขภาพ คือเราจะประกาศนโยบายนเป
วาระแห่งชาติ เพือทีทุกคนจะมาร่วมกันรับร้และร่วมกันทําให้เกิดขึ
26
นพ.วิรุฬ ลิมสวาท ผู้อํานวยการสํานักวิจัยสังคมและสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
https://www.thecoverage.info/news/content/4369
16 ธ.ค.65
26
27
อสร:
จจยสําคญทีจะทาให้เกดขึนเปนจรคือ
“เจตจํานงทางการเมือง” (political will)
โดยการคุมครองความยากจนผูงอายุได้เปนเสยงเรยกร้องจากสังคมและรัฐสภาแล้ว
28
ประเด็นคาถาม:
การใหานาญกับทุกคนอย่างถวนหนามีประสิทธิภาพกว่าการเลือก
ให้เฉพาะกลุ่ม เช่น คนจนอย่างไร?
29
าไมจึงควรถวนหน้า
ทําไมจึงควรถ้วนหน้า
บริหารจัดการง่าย
ไม่ตองใช้ระบบราชการมาพิสูจน์ความจนหรือตรวจคุณสมบัติ
คนจนไม่ตกหล่น
แม้จะใช้งบประมาณสูงกว่า แต่ก็เปนประโยชน์กับทุกคน
หากใช้กลไกภาษี จะช่วยลดความเหลือมลํา
30
"ในการทํานโยบายใดๆ ถาเมื่อไหรที่มีการตั้งเกณฑวากลุมไหนจะไดประโยชนจากนโยบาย จะตองมีการตกหลนเสมอ
ประเด็นนี้เปนความรูพื้นฐานของคนออกแบบนโยบายเลยวา เมื่อไหรก็ตามที่มีกระบวนการคัดกรอง ไมวาจะออกแบบมา
ดีแคไหนก็ตาม มันจะมีขอผิดพลาดสองประเภทคือ inclusion error กับ exclusion error สมมติเรากําหนดเกณฑวาคน
ที่จะไดรับเงินจะตองยากจนเทานั้น inclusion error คือคนที่เขาถึงนโยบายแตดันไมใชคนจน สวน exclusion error คือ
คนที่ควรจะเขาถึงนโยบายแตกลับเขาไมถึง ในสวนของ exclusion error นี่แหละที่เรียกวา คนจนตกหลน’"
31
ดร.สมชัย จิตสุชน
้อํานวยการวิจัยด้านการพัฒนาอย่างทัวถึง สถาบันวิจัยเพือการพัฒนาประเทศไทย
https://www.the101.world/somchai-jitsuchon-on-universal-cash-transfer-programme/
31
"Universal or near-universal approaches deserve more consideration than they often receive."
32
Abhisit Banerjee
2019 Nobel Prize laureate
Professor of Economics, Massachusetts Institute of Technology
https://economics.mit.edu/sites/default/files/2022-10/annurev-economics-080218-
030229.pdf
"maybe we shouldn’t be trying to target on who is poorest in the first place"
33
David McKenzie
Lead Economist, World Bank
https://blogs.worldbank.org/impactevaluations/weekly-links-november-16-
remembering-tn-targeting-vs-universal-transfers-debates-farcical-robustness
ข้อเสนอของพรรคการเมืองในการเลือกตัง พ.ศ. 2562 (เฉพาะพรรคร่วมรัฐบาล)
พลังชาติไทย 5,000 บาท/เดือน
ประชาภิวัฒน 5,000 บาท ต่อเดือน
เศรษฐกิจใหม่ 3,000-5,000 บาท ต่อเดือน
พลังท้องถินไท 3,000 บาท/เดือน
ประชาธิปไตยใหม่ 3,000 บาท/เดือน
ชาติไทยพัฒนา 2,000 บาท/เดือน
ชาติพัฒนา 2,000 บาท/เดือน
รวมพลังประชาชาติไทย 1,500 บาท/เดือน
ประชาธิปตย 1,000 บาท/เดือน
พลังประชารัฐ 1,000 บาท/เดือน
ภูมิใจไทย ไม่ไดเสนอ 34
[ไม่ชัดเจนว่า ถ้วนหนาหรือไม่]
ข้อเสนอของพรรคการเมืองในการเลือกตัง พ.ศ. 2566
พรรคแรงงานสรางชาติ 3,000 บาท/เดือน
ประชาชาติ 3,000 บาท/เดือน
ไทยสรางไทย 3,000 บาท/เดือน
ก้าวไกล 3,000 บาท/เดือน
(สืบคนดวย Google News ณ วันที 11 ม.ค.2566)
35
[ชัดเจนว่า "ถ้วนหน้า"]
36
ประเด็นสงท้าย:
เอางบประมาณมากจากไหนสําหรับ “ถวนหน้า”
ข้อเสนอแนวทางการหารายได้มาทํารัฐสวัสดิการ
ก้าวไกล
ตัดลดงบประมาณทีไม่จําเปน เช่น ลดขนาดกองทัพและเรียกคืนธุรกิจกองทัพ ลดงบกลาง ลดโครงการทีไม่จาเป
การเพิมประสิทธิภาพและความเปนธรรมในการจัดเก็บภาษีทีมีอยู่แล้ว เช่น การจัดเก็บภาษรายได้นิติบุคคลทีเป
ธรรมระหว่างทุนใหญ่กับผู้ประกอบการรายย่อย
ภาษก้าวหน้าประเภทใหม่ทีจะช่วยลดความเหลือมลํา เช่น ภาษีทีดินรวมแปลงในกรณีทีบุคคลครอบครองทีดิน
ํานวนมากทีกระจัดกระจายอยู่เต็มไปหมดทัวประเทศ และ ภาษความมังคง (ทรัพย์สินสุทธเกิน 300 ลานบาท)
37
[ชัดเจนว่า "ถ้วนหน้า"]
38
ประเด็นคาถาม:
คนมักกังวลว่า การให้สวัสดิการกับทุกคนจะเปนภาระงบประมาณ
กรณีของประเทศไทย เราจะใช้เงินจากส่วนไหนมาจัดสวัสดิการได
าง เงินงบประมาณของประเทศมีพอจริงหรือไม่?
39
หากจะมองวา การดูแลผูสูงวยทีเคยชวยสร้างชาติ เปนภาระงบประมาณ
ขอให้ตระหนักถงสภาพความเปนจรงของประเทศ
40
้ทีคัดค้านเอง ได้รับเงินเบียหวัด บําเหน็จ บํานาญ อย่างมันคง
ในขณะที จํานวนผ้รับสิทธิ เพิมขึนจาก 3.9 แสนคนในป 2550 เป 9.5 แสนคนในปี 2564
พรอมกับงบต่อหัวทีเพิมสูงขึนอย่างรวดเร็วจาก 1.6 หมืนบาท/เดือน ในป 2550 เป็น 2.6 หมืนบาท/เดือน ในปี 2564 (รูปด้านล่าง)
หมายเหตุ: คํานวณจาก “จํานวนผู้รับ เงินเบียหวัด บําเหน็จ บํานาญ” และ “ผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายงบกลาง รายการ เงินเบียหวัด บําเหน็จ บํานาญ” (กรมบัญชีกลาง)
41
นอกจากมีบํานาญมันคงปลอดภัย ยังมีค่าใช้จ่ายต่อหัวสําหรับสวัสดิการรักษาพยาบาล (CSMBS) แพงกว่าระบบอื
ปัญหาความไมเปนธรรมด้านคุณภาพการให้บรการและคาใชายเฉลียตอหัว จะเรือรงตอไปในอนาคต ทังทีจะต้อง
เผชญกับแนวโนมของแรงกดดันทางการคลัง (fiscal stress)
ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย (2565) ลักษณะความเหลือมลําในแต่ละมิติของลูกบาศก์หลักประกันสุขภาพ
ถ้วนหน้า: ข้อค้นพบจากข้อมูลสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน .. 2563.
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 16(1):5-15.
ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย (2564) การพัฒนาประสิทธิภาพทางการคลังทียังยืนสําหรับระบบหลักประกันสุขภาพ
และแบบจําลองการจัดสรรทรัพยากรกําลังคนด้านสุขภาพ. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
42
ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย (2564) การพัฒนาประสิทธิภาพทางการคลังทียังยืนสําหรับระบบหลักประกันสุขภาพ แล
แบบจําลองการจัดสรรทรัพยากรกําลังคนด้านสุขภาพ
.
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
.
ปก่อนหนามีแรงงานนอกระบบราคาถกมีชีวิตแบบไร้อนาคตในภาคเอกชนด้วย
ดังนัน ลองมาดูเฉพาะ “ความแตกต่างของค่าจ้างของแรงงานส่วนน้อยทีมีโอกาสได้เรียนมหาวิทยาลัย”
43
Source: Labor Force Survey
44
ประเด็นทีน่าสนใจ คือ ผู้ทีคัดค้าน จะสามารถเข้าใจถึงความเดือดรอนของคนไทยส่วนใหญ่ หรือไม่?
ข้อมูลพืนฐานบางประการ
1. มัธยฐาน (median) หรือ ค่ากลางของการบริโภคของคนไทย คือ เดือนละ 6 พันบาท หรือ วันละ
200 บาท
2. แรกของโควิด คือ พ.ศ. 2563 มี้สงอายุยากจนพุ่งขึนในหลายจังหวัด และกลุ่มยากจนทีสุด คือ ผ
ได้รับผลกระทบจากโควิดมากทีสุด ซึงผู้สูงอายุยากจนส่วนใหญ่ไม่มีบัตรสวัสดิการแห่งรั
3. หนีสินเป นปญหาทีสําคัญของครัวเรือนไทยโดยกลุ่มครัวเรือนทีมีหัวหน้าครัวเรือนสูงอายุ ราวร้อยละ 38
4. ภาระค่าใช้จ่ายหนีต่อเดือน ส่งผลกระทบต่อกลุ่มวัยทีกําลังจะเข้าสู่วัยสูงอายุ โดยมีผลทาใหเงินออมใน
วัยทํางานไม่เพียงพอ
5. รายได้หลังหักค่าใช้จ่ายของครัวเรือนทีมีหัวหน้าครัวเรือนอายุ 65 ปขึนไปอยู่ที 4,000 บาท แต่หาก
พิจารณารายได้หลังค่าใช้จ่ายรวมการจ่ายหนีเหลือเพียงราว 2,000 บาทต่อเดือน
ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย, ดวงมณี เลาวกุล และคณะ (2565) การวิเคราะห์ช่องว่างทางการคลัง แหล่งรายได้ และความเป็นไปได้ทาง
เศรษฐศาสตร์การเมืองของการจัดตังระบบบํานาญแห่งชาติ โดยคํานึงถึงผลกระทบของ COVID-19 ทีมีต่อผู้สูงอายุ. มูลนิธิสถาบันวิจัยและ
พัฒนาผู้สูงอายุ.
การเพิมขึน 1% ของ GDP ช่วงปี 2545-2563 (2002-2020) มีผลต่อการบริโภคครัวเรือนเฉลียต่อหัวของ bottom 20% โดยได้รับประโยชน์น้อยกว่ากลุ่มอืนๆ
ของครัวเรือนไทย
เกือบ 2 ทศวรรษทีผ่านมา ครัวเรือนรวยสุดระดับบน ได้รับประโยชน์มากกว่าจากความจําเริญทางเศรษฐกิจ
45
ครัวเรือนระดับล่าง ได้รับประโยชน์จากการเพิมขึนของ GDP ในสัดส่วนที้อยกว่า
1.0%
1.5%
2.0%
10
15
20
25
30
35
40
45
50
55
60
65
70
75
80
85
90
Differentials on household
consumption per capita
Distributional quantile of log household consumption per capita (2020 THB)
Impacts from a one percentage point increase of GDP on
household consumption per capita
Note: ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย, สิทธิศักดิ ีลหานนท์, และ ภรณ์วรัตน์ ฟุ้งวิริยะ (2565). The estimated coefficients
from unconditional quantile regression as the impacts of GDP growth on per capita
consumption expenditure, given the heterogeneous controls on households, time, and
locations using the household SES 2002-2020 (N = 1,961,528)
46
คนระดับลางแทบไมมีโอกาสจะได้ลืมตาอ้าปากเลย
Note: SES 1986-2020
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
1986
1988
1990
1992
1994
1996
1998
1999
2000
2001
2002
2004
2006
2007
2008
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
THB (real 2020)
Monthly consumption expenditure per capita
Richest 10% Middle 40%-60% Bottom 40% Poorest 10%
ช่องว่างยงคงขยายเพิมมากขึนตลอดชวง 35 ทีผานมา ซึงความเหลือมลําด้านการบรโภคยงคงดําเนนตอไป
มูลคา(แรงงาน)สวนเกน หรSurplus Value หายไปไหน?
ค่าจ้างเพิมขึนตํากว่าผลิตภาพแรงงาน และยังเติบโตช้ากว่า GDP ด้วย
47
Source: พฤติกรรมการกําหนดค่าจ้างของไทย โดย ดร.นพดล บูรณะธนัง และ พรเกียรติ ยังยืน (2556)
พ.ศ. 2563
7 จังหวัดมีอัตราความยากจนในผู้สูงอายุมากกว่า อยละ 20
27 จังหวัดมีอัตราความยากจนในผู้สูงอายุมากกว่า ้อยละ 10
48
สภาพความยากจนของผ้สงอายุพุ่งสงขึนจาก COVID-19
0
10
20
30
40
50
60
ปัตตานี
แม่ฮ่องสอน
นราธิวาส
สระแก้ว
กาฬสินธุ์
นครราชสีมา
ชัยนาท
บุรีรัมย์
นครพนม
สตูล
อ่างทอง
พัทลุง
หนองบัวลําภู
อุบลราชธานี
ระนอง
นครศรีธรรมราช
ตาก
สุพรรณบุรี
ราชบุรี
สกลนคร
% of Elders
20 poorest provinces of Elders in
2019
0
10
20
30
40
50
60
ปัตตานี
แม่ฮ่องสอน
นครราชสีมา
พะเยา
สุพรรณบุรี
กาฬสินธุ์
บุรีรัมย์
ระนอง
นครพนม
สุโขทัย
นราธิวาส
อํานาจเจริญ
พัทลุง
อุบลราชธานี
ชัยนาท
อ่างทอง
ตรัง
อุทัยธานี
อุตรดิตถ์
นครศรีธรรมราช
% of Elders
20 poorest provinces of Elders in
2020
ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย, ดวงมณี เลาวกุล และคณะ (2565) การวิเคราะห์ช่องว่างทางการคลัง แหล่งรายได้ และความเป็นไปได้ทาง
เศรษฐศาสตร์การเมืองของการจัดตังระบบบํานาญแห่งชาติ โดยคํานึงถึงผลกระทบของ COVID-19 ทีมีต่อผู้สูงอายุ. มูลนิธิสถาบันวิจัยและ
พัฒนาผู้สูงอายุ.
49
ครัวเรือนจนได้รับผลกระทบจาก COVID-19รุนแรงทีสุด
bottom 15% ยากจนลงในป 2563 (2020) - แรกของ COVID-19
-2 0 2 4 6
Annualized Growth (%)
5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95
Percentile of per capita household consumption
mean: 2.75% median: 2.51%
2019-2020
Growth incidence curve (GIC)
Note: ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย, ิทธิศักดิ ลีลหานนท์, และ ภรณ์วรัตน์ ฟุ้งวิริยะ (2565). The
GIC 2019-2020 reports the percentage change of the household
consumption expenditure by wealth percentile of Thai households.
“ในช่วงการระบาด คนจนมีวิถีชีวิตและรปแบบการทํางานทียากต่อการปรับตัวยิงกว่าคนรวย ขณะทีคนรวยเจอความ
เสียงในการปรับตัวน้อยกว่า สินทรัพย์ในตลาดทุนก็ไม่ได้รับผลกระทบมากนัก ทังยังสามารถใช้วิกฤตเปนโอกาสสงสม
ความมังคังเพิมขึได้ จนนําไปสู่การกว้านซือธุรกิจ กลายเปนปญหาการผูกขาดของกลุ่มทุนใหญ่”
50
รวยต่อไม่รอแล้วนะ!: คุยกับ ธร ป ติดล ในวันทีพิษจากโควิดผลักช่องว่างระหว่างเรากับเขาให้กว้างขึ
https://www.the101.world/thorn-pitidol-interview-2021/
“…ตระกูลรวยทีสุด 50 อันดับแรกตามการจัดอันดับของนิตยสาร Forbes มีทรัพย์สินเท่ากับประชากร 13 ล้าน
ครัวเรือน สะท้อนให้เห็น “ช่องว่าง” ระหว่างคนจนและคนรวย ทีเกิดจากการเติบโตของรายได้และความมังคังเฉพาะ
ในบางกลุ่มมาเปนเวลานาน…”
51
ดร.เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผ้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ปาฐกถาพิเศษ งานสัมมนาออนไลน
The Standard Economic Forum 2021 The Great Reform: Thailand’s
Tipping Point for a Sustainable Future หัวข้อ “The Future of Thai Economy
and Finance” เมือวันที 27 พ.ย.2564
https://www.isranews.org/article/isranews-article/104545-bot-
Governor-The-Future-of-Thai-Economy-and-Finance.html
52
ดร.เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผ้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
https://www.isranews.org/article/isranews-article/104545-bot-
Governor-The-Future-of-Thai-Economy-and-Finance.html
53
2563 ซึงเปนปีแรกของโควิด 50 มหาเศรษฐีไทย มีทรัพย์สินรวมเพิมขึ อยละ 20 หรือ 2.8 หมืนลาน
เหรียญสหรัฐฯ (หรือ 9.15 แสนล้านบาท) [อันดับ 50 มหาเศรษฐไทย ประจําป 2564 โดย Forbes]
ในช่วง 10 ป ทีผ่านมา 50 ตระกลรวยทีสุด มี
ทรัพยสินเพิมเฉลียปละ 20-30% หรือรวยขึ
เฉลีย 6-8 เท่า (โสภณ พรโชคชัย, 2562)
ซึงหลายตระกลได้เปรียบจากการประกอบ
ธุรกิจสัมปทาน หรือ ธุรกิจกึงผกขาด
ตลอดจนกลไกภาครัฐเอือให้สามารถมีอํานาจ
เหนือตลาดและได้รับการยกเว้นภาษีแบบที
้ประกอบการ SME ไม่มีโอกาส
54
ญหาเชงโครงสร้างทีฝังรากลึกมานาน และกาลงเลวร้ายมากยิงขึ
“ความเหลือมลา”
ความเหลือมลําทําให้เศรษฐกิจขยายตัวช้ากว่า - Ehrhart (2009), Bagchi and Svejnar (2015), Neves, Afonso,
and Silva (2016)
ความเหลือมลําทําให้ประเทศมีความเสียงกับความวุ่นวายทางการเมือง - Roe and Siegel (2011)
55
สรปปญหาทีเกิดจากความเหลือมลําจากงานวิจัยระดับนานาชาติานเศรษฐศาสตรพัฒนา
ศ.ดร.เมธี ครองแก้ว (2522) :
รัฐบาลไม่ต้องการใช้นโยบายการคลังเพือผลทางการกระจายรายได้เพราะนโยบายดังกล่าวกระทบต่อ ฐานะของคน
กลุ่มน้อยทีมีอิทธิพล หรือมีอานาจ ซึงรัฐบาลต้องช่วยรักษาผลประโยชน์หรือมีประโยชน์ผูกพันอยู่ด้วย
56
ด้วยเหตุผลทงทางเศรษฐศาสตร์ (technical analysis) และทางศีลธรรม (ethical analysis)
ควรจะเร่งพิจารณาและผลักดันให้มีการหาทางแหล่งรายได้ เช่น Earmarked VAT หรือ ปฏิรประบบภาษี รวมทัง
การจัดลาดับความสาคัญในการจัดสรรงบประมาณใหม่ (Budget Reprioritization) เพือมาสนับสนุนค่าใช้จ่ายรัฐ
สวัสดิการและความคุ้มครองทางสังคม อันการใช้จ่ายในทางทีจะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนผู้เสียภาษ
57
“บรรยากาศทวไปทีสังคมไทยพัฒนาถึงขันควรจัดระบบสวัสดิการสังคมถ้วนหน้า มีกองทุนเพือความเสมอภา
ทางการศึกษาเพิมขึน เพิมการจัดบํานาญถ้วนหน้าเพือผ้สงอายุงินชดเชยรายได้การตกงาน ฯลฯ นโยบา
ทังหมดนีต้องมาจากแหล่งเงินของรัฐทีมีขนาดใหญ่และยังยืนขน การปฏิรูปภาษีโดยเฉพาะภาษีทีเกียวกับรายได
และความมังคังต้องเพิมฐานจํานวนผู้เสียและขนาดของการจัดเก็บมากขึน ผสมผสานด้วยระบบการคลังอืน ๆ
แบบมีส่วนร่วม”
ทีมา: ศ.ดร.นพ.ศุภสิทธิ พรรณนารุโณทัย (2563)
ผศ.ดร.ดวงมณี เลาวกุล (2556) : การสร้างความเสมอภาคได้มากขึนวิธหนึงก็คือ การกระจายการถือครองทรัพย์สิน
ใหม่
ศ.ดร.ผาสุก พงษ์ไพจิตร (2556) : การทีสินค้าและบริการสาธารณะของเรา รวมทังระบบรัฐสวัสดิการ มีไม่
เพียงพอและคุณภาพยําแย่ ส่วนหนึงเพราะว่ารัฐมีงบประมาณจํากัด ซึงเกิดจากการเก็บภาษีได้น้อย
ดร.ปัณณ์ อนันอภิบุตร (2556, 2562) : ควรทีจะใช้ภาษีทรัพย์สินในการแก้ไขปญหาความเหลือมลํ
ภงด. บุคคลธรรมดา จัดเก็บได้ค่อนข้างยากและมีฐานภาษแคบ จึงมีผลน้อยมากต่อการลดความเหลือมลําในการกระจายรายได้
ดร.สมชัย จิตสุชน และคณะ (2554) : ปฏิรปโครงสร้างภาษี เพือยกระดับรายได้ภาษีให้ใกลเคียงกับ 'ศักยภาพใน
การเสียภาษี' และช่วยให้ระบบภาษีมีความเปนธรรมและเสมอภาคมากขึ
58
้อเสนอทางเศรษฐศาสตรในการแก้ปญหาความเหลือมลําของประเทศไทย = “Wealth Redistribution”
้วยนโนบายและมาตรการทางการคลัง
ดร.สมชัย จิตสุชน (2561) :
(ก) การเพิม VAT เปน 8% จะมีรายได้เพิมขึน 8 หมืนล้านบาท ซึงสามารถ earmarked VAT เปนสัดส่วน
x% ของ 8 หมืนล้านบาท
(ข) การปฏิรปภาษีเพือลดความเหลือมลํ เช่น ปรับลดค่าลดหย่อน LTF ของ top 5% สาหรับภาษเงินได
บุคคลธรรมดา, จัดเก็บตาม พรบ. ภาษทีดินและสิงปลูกสร้าง, และ เก็บภาษ capital gain tax จะสามารถเป
แหล่งรายได้ประมาณ 5.7-6.7 หมืนล้านบาท
59
60
https://www.youtube.com/watch?v=em5-4yBNfsI&ab_channel=matichontv
ศ.ดร.ผาสุก เสนอ วิกฤติโควิด จ่ายบํานาญแห่งชาติ 3,000 บาท/เดือน ตัดงบความมันคง
บทความ aBRIDGEd "5 มุมมองใหม่จากข้อมูลผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา" โดย รศ.ดร.อธิภัทร มุทิตาเจริญ 61
“รายจ่ายภาษี” หรือ รายได้ของรัฐทีลดลงจากการให้สิทธิการหักลดหย่อนภาษีต่าง ๆ ส่งผลให้รัฐจัดเก็บภาษีได้
ลดลง โดยคนรวยเป นผ้ได้รับประโยชน์จากมาตรการหักลดหย่อนภาษีต่าง ๆ
Pitidol, T., 2018. Changing Thailand's Future with Tax Reform. Thammasat Review of Economic and Social Policy,4(1), pp.26-54. 62
รายได้จากภาษีทังหมดของไทยคิดเป นสัดส่วนทีค่อนข้างน้อยเมือเทียบกับประเทศทีพัฒนาแล้ว
เนืองจากอัตราภาษีทีตํา และลดหย่อน/ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เพือส่งเสริมการลงทุน
หากสามารถเก็บภาษีได้เต็มศักยภาพ จะเพิมได้ถึง 20-30% ของ GDP (Kwaja and Iyer, 2014)
บทความ aBRIDGEd "ลดความเหลือมลํา นําไทยสู่การเติบโตอย่างยังยืน" โดย พิรญาณ์ รณภาพ 63
นโยบายด้านภาษีและเงินโอนของไทย สามารถลดความเหลือมลําได้ค่อนข้างน้อย
การใช้จายด้านรัฐสวสดิการมีผลตอการลดความยากจน
Wealth Redistribution ผ่าน Government Transfer ้านสวัสดิการ มีบทบาทมากขึนต่อการลด
ความยากจนของครัวเรือนไทยในช่วงทศวรรษทีผ่านมา
64
Source: Sondergaard, Luo, Jithitikulchai, et al. 2016. Thailand Systematic Country DiagnosticThailand - Systematic Country
Diagnostic: Getting Back on Track - Reviving Growth and Securing Prosperity for All. Washington, D.C. World Bank Group.
65
“That is simple my friend: because politics is more difficult than physics.
Albert Einstein answered when he was asked why people could discover
atomic power but not the means to control it.
ขอบคุณมากครับ
theepakorn@econ.tu.ac.th
ภาคผนวก
ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย, ดวงมณี เลาวกุล และคณะ (2565) การวเคราะห์ชองวาง
ทางการคล แหลงรายได้ และความเปนไปได้ทางเศรษฐศาสตร์การเมืองของการ
ัดตังระบบบานาญแหงชาต โดยคํานงถึงผลกระทบของ COVID-19 ทีมีตอผู้สูงอายุ
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุ (มส.ผส.) ได้รับทุนสนับสนนการวิจัยจากสํานักงาน
การวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ประมาณการงบประมาณและ fiscal space
68
กรอบแนวคิดการกาหนดบานาญพืนฐาน
69
70
วิธีการประมาณการงบประมาณ
71
ระบบเบียยังชีพผ้สงอายุ (Status Quo คือ ไม่มีการเปลียนแปลงเชิงระบบ)
ฉากทัศน์ด้านงบประมาณ
อัตราปจจุบันตามขันบันได
1,000/2,000/3,000 บาท
ฉากทัศน์ด้านผู้ได้รับสิทธิ
แนวโน้มสัดส่วน
ถ้วนหน้า
72
ทางเลือกของระบบบํานาญพืนฐาน (Ex Ante คือ มีความพยายามพัฒนาระบบทพึงปราถนา)
73
ปแบบ 1 : เพิมเติมจากระบบปัจจุบันทีมีอยู่
รัฐบาลและประชาชนร่วมจ่ายส่วนเพิม ตามสัดส่วนประกันสังคม คือ 0.4 : 0.6
ปแบบ 2 : เพิมเติมจากระบบปัจจุบันทีมีอยู่
รัฐบาลและประชาชนร่วมจ่ายส่วนเพิม ตามสัดส่วน คือ 0.5 : 0.5
ปแบบ 3 : ําหนดระดับความคุ้มครองความยากจนที 1,900 บาท/เดือน แทนเบียยังชีพผู้สูงอายุ
และมีระดับมาตรฐานการครองชีพขันตําทีระดับเส้นความยากจน (2,800 บาท/เดือน)
รัฐบาลและประชาชนร่วมจ่ายส่วนเพิม ตามสัดส่วน คือ 0.5 : 0.5
ปแบบ 4 : ําหนดระดับความคุ้มครองความยากจนที 1,900 บาท/เดือน แทนเบียยังชีพผู้สูงอายุ
และมีระดับมาตรฐานการครองชีพทีระดับมัธยฐาน (6,000 บาท/เดือน)
รัฐบาลและประชาชนร่วมจ่ายส่วนเพิม ตามสัดส่วน คือ 0.5 : 0.5
การประมาณการงบประมาณของระบบ 5 ระบบทีไม่รวมเบียยังชีพผ้สงอายุ
74
1. ําเหน็จบํานาญ ขรก.แบบเดิม
2. กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ (กบข.)
3. กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)
4. ประกันสังคม (ม.33, 39, 40)
5. กองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน
วิธีการประมาณการ
วิธี 1 : เส้นแนวโน้ม (time trend)
วิธี 2 : Time series models - ARIMA(p,q,r) ทีเลือก optimal model โดย AIC/BIC
เลือกระหว่าง 2 วิธี โดย RMSE
ซึงเมือประเมิน sensitivity analysis ได้ผลสรุปในทิศทางเดียวกัน
แบบจําลองการกาหนดบํานาญพนฐาน
75
ทางเลือกของระบบบํานาญพืนฐาน
(Ex Ante คือ มีความพยายามพัฒนาระบบทีพึงปราถนา)
แบบจําลองการกําหนดบํานาญพืนฐาน
าหนดแบบจําลองจากระดับจุลภาค คือ รายผู้สูงอายุ เพือเปนกรอบการคํานวณงบประมาณระดับมหภาค
งานวิจัยนีไดําหนดระดับมาตรฐานการครองชีพ
ระดับตรงกลาง(มัธยฐาน)ของสังคม: 200 บาท/วัน
ระดับเบียยังชีพถ้วนหน้า : 100 บาท/วัน
ระดับคุ้มครองความยากจน : 65 บาท/วัน
ค่าเฉลียจากนโยบายหาเสียงเลือกตัง ป 2562 : 45 บาท/วัน
พิจารณาเฉพาะส่วนเพิมจากทีได้รับในปัจจุบัน เช่น บํานาญข้าราชการ ประกันสังคม เบียยังชีพผู้สูงอายุ และ กองทุนการ
ออมแห่งชาติ
าหนดให้สามารถทีจะออมเงินด้วยตนเอง โดยให้รัฐบาลสมทบตามสัดส่วน
76
77
78
79
80
81
82
83
84
ฉากทศน์หลักีใช้ในการนําเสนอผลวิเคราะห์สําหรบบํานาญพนฐาน
ระดับมาตรฐานการยังชพขนตํา หรือ = เดือนละ 3,000 บาท หรือ 100 บาทต่อวัน (รูปแบบ 1-3) และ 6,000 บาท (รูปแบบ 4)
ผู้สูงอายุทีได้รบเบียยังชพ และอัตราเบียยังชีพ = ผู้สูงอายุสัดส่วนตาม historical rate ได้รับเบียยังชีพ โดยได้รับในอัตราขันบันได
ตามนโยบายปจจุบัน
สัดสวนประชาชนทีใช้สทธในการออม = 0.5 (รูปแบบ 1-4)
85
ฉากทัศน์ทางเศรษฐกิจมหภาค
86
GDP: 5 Scenarios
Growth
Average 10 years 2.3%
Average 20 years 3.5%
Average 25 years 2.9%
Worst case 1.7%
Optimistic 4.1% 87
0
5
10
15
20
25
30
35
40
1995
2000
2005
2010
2015
2020
2025
2030
2035
2040
THB nominal
Trillions
GDP projections (nominal) by growth
actual Growth: 4.1% Growth: 3.5%
Growth: 2.9% Growth: 2.3% Growth: 1.7%
General Government Expenditure (% of GDP) : 3 Scenarios
88
scenario 1
(Trend from
history)
scenario 2
(cap 18%)
scenario 3
(cap 20%)
2564 17.5 17.5 17.5
2568 18.5 18.0 18.5
2573 19.8 18.0 19.8
2578 21.3 18.0 20.0
2583 22.8 18.0 20.0
0
5
10
15
20
25
1960
1970
1980
1990
2000
2010
2020
2030
2040
% of GDP
General government expenditure (% of GDP)
historical scenario 1 scenario 2 scenario 3
ผลการประมาณการ
89
หนวย: ล้านบาท
ผลการประมาณการงบประมาณของระบบบํานาญต่างๆ (รวม 5 ระบบ)
*ยกเว้นเบียยังชีพผู้สงอายุ
90
บําเหน็จบํานาญ
ขรก.แบบเดิม กบข. กอช. ประกันสังคม
(ม.33, 39, 40)
กองทุนสงเคราะห
ตามกฎหมายว่า
ด้วยโรงเรียน
เอกชน
รวม 5 ระบบ
2564 306,709 61,480 507 8,018 1,452 378,167
2568 418,266 74,525 693 11,941 1,818 507,243
2573 585,646 92,320 898 18,396 2,352 699,612
2578 784,065 111,769 1,072 26,851 2,970 926,727
2583 1,013,522 132,874 1,216 37,621 3,672 1,188,904
0
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
1,200,000
2543
2545
2547
2549
2551
2553
2555
2557
2559
2561
2563
2565
2567
2569
2571
2573
2575
2577
2579
2581
2583
ล้านบาท
งบประมาณสําหรับระบบบํานาญมี
แนวโน้มเพิมขึนอย่างรวดเร็ว
โดยมาจากระบบบํานาญข้าราชการ
หนวย: ล้านบาท
ผลการประมาณการงบประมาณของระบบเบียยังชีพผ้สงอายุ [
Status Quo
]
91
Case 0 Case 0* Case A1 Case A2 Case A3 Case B1 Case B2 Case B3
้สงอายุ historical
rate ถ้วนหน้า historical rate ถ้วนหน้า
เดือนละ (บาท) อัตราปัจจุบัน 1,000 2,000 3,000 1,000 2,000 3,000
2564 80,505 98,177 123,118 246,236 369,353 150,143 300,287 450,430
2568 93,707 114,276 143,021 286,043 429,064 174,416 348,832 523,248
2573 110,936 135,288 168,448 336,897 505,345 205,424 410,849 616,273
2578 125,186 152,665 187,972 375,943 563,915 229,233 458,466 687,700
2583 136,127 166,008 201,819 403,639 605,458 246,121 492,241 738,362
Case 0 ผู้สูงอายุทีได้รับเบียยังชีพ = Average historical rate โดยได้รับในอัตรา = นโยบายปัจจุบัน
Case 0* ผู้สูงอายุทุกคนได้รับเบียยังชีพ โดยได้รับในอัตรา = นโยบายปจจุบัน
Case A1 ผู้สูงอายุทีได้รับเบียยังชีพ = Average historical rate โดยได้รับเบียยังชีพ 1000 บาท (คงที)
Case A2 ผู้สูงอายุทีได้รับเบียยังชีพ = Average historical rate โดยได้รับเบียยังชีพ 2000 บาท (คงที)
Case A3 ผู้สูงอายุทีได้รับเบียยังชีพ = Average historical rate โดยได้รับเบียยังชีพ 3000 บาท (คงที)
Case B1 ผู้สูงอายุทุกคนได้รับเบียยังชีพ โดยได้รับเบียยังชีพ 1000 บาท (คงที)
Case B2 ผู้สูงอายุทุกคนได้รับเบียยังชีพ โดยได้รับเบียยังชีพ 2000 บาท (คงที)
Case B3 ผู้สูงอายุทุกคนได้รับเบียยังชีพ โดยได้รับเบียยังชีพ 3000 บาท (คงที)
หมายเหตุ:
ถึงแม้จะเป น “ถ้วนหน้า 3,000 บาท” ก็
ยังน้อยกว่างบประมาณสําหรับบํานาญ
ข้าราชการในระยะยาว
* การเพิมเบียยังชีพเปนถ้วนหน้า จะต้องเพิมงบประมาณอีกประมาณ 20% สําหรับแตละ scenarios
ฉากทัศน์หลักทีใช้ในการนําเสนอผลวิเคราะห์สําหรับบํานาญพืนฐาน [Ex Ante]
ระดับมาตรฐานการยังชพขนตํา หรือ = เดือนละ 3,000 บาท หรือ 100 บาทต่อวัน (รูปแบบ 1-3) และ 6,000 บาท (รูปแบบ 4)
ผู้สูงอายุทีได้รบเบียยังชพ และอัตราเบียยังชีพ = ผู้สูงอายุสัดส่วนตาม historical rate ได้รับเบียยังชีพ โดยได้รับในอัตราขันบันได
ตามนโยบายปจจุบัน
สัดสวนประชาชนทีใช้สทธในการออม = 0.5 (รูปแบบ 1-4)
92
งบประมาณภาครฐสาหรบบานาญผ้สูงอายุทงหมด (ล้านบาท)
93
หนวย: ล้านบาท
รูปแบบ
1 2 3 4
2564 520,704 549,465 661,639 781,564
2568 670,923 703,843 829,161 972,876
2573 889,776 927,847 1,067,668 1,243,304
2578 1,135,643 1,177,185 1,321,516 1,525,474
2583 1,408,742 1,452,081 1,591,626 1,820,436
-
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
1,200,000
1,400,000
1,600,000
1,800,000
2,000,000
2564
2565
2566
2567
2568
2569
2570
2571
2572
2573
2574
2575
2576
2577
2578
2579
2580
2581
2582
2583
THB (in million)
Total gov exp
Model 1 Model 2 Model 3 Model 4
ปแบบ 3-4 จะทําให้งบประมาณรวม
เพิมสงขึนพอสมควร
แต่ก็คิดเป นสัดส่วนทลดลงในระยะยาว
งบประมาณภาครฐสําหรบบานาญพืนฐาน (% งบประมาณรวม)
94
งบประมาณรวม 5 ระบบ บํานาญข้าราชการ บํานาญพืนฐาน
ปแบบ 1
2564 520,704 100% 378,167 73% 368,189 71% 142,537 27%
2568 670,923 100% 507,243 76% 492,791 73% 163,679 24%
2573 889,776 100% 699,612 79% 677,966 76% 190,164 21%
2578 1,135,643 100% 926,727 82% 895,834 79% 208,915 18%
2583 1,408,742 100% 1,188,904 84% 1,146,396 81% 219,838 16%
ปแบบ 2
2564 549,465 100% 378,167 69% 368,189 67% 171,299 31%
2568 703,843 100% 507,243 72% 492,791 70% 196,600 28%
2573 927,847 100% 699,612 75% 677,966 73% 228,235 25%
2578 1,177,185 100% 926,727 79% 895,834 76% 250,457 21%
2583 1,452,081 100% 1,188,904 82% 1,146,396 79% 263,177 18%
ปแบบ 3
2564 661,639 100% 378,167 57% 368,189 56% 283,473 43%
2568 829,161 100% 507,243 61% 492,791 59% 321,918 39%
2573 1,067,668 100% 699,612 66% 677,966 63% 368,056 34%
2578 1,321,516 100% 926,727 70% 895,834 68% 394,789 30%
2583 1,591,626 100% 1,188,904 75% 1,146,396 72% 402,722 25%
ปแบบ 4
2564 781,564 100% 378,167 48% 368,189 47% 403,397 52%
2568 972,876 100% 507,243 52% 492,791 51% 465,633 48%
2573 1,243,304 100% 699,612 56% 677,966 55% 543,692 44%
2578 1,525,474 100% 926,727 61% 895,834 59% 598,747 39%
2583 1,820,436 100% 1,188,904 65% 1,146,396 63% 631,532 35%
อย่างไรก็ตาม
งบประมาณสําหรับ
ระบบบํานาญพืนฐาน
ก็ยังน้อยกว่าระบบ
บํานาญข้าราชการ
ัดสวนงบประมาณภาครฐสําหรบบานาญผู้สูงอายุทงหมด ตGDP
95
Growth rate = 4.1%
2564 3% 3% 4% 5%
2568 4% 4% 4% 5%
2573 4% 4% 5% 5%
2578 4% 4% 5% 5%
2583 4% 4% 5% 5%
Growth rate = 3.5%
2564 3% 3% 4% 5%
2568 4% 4% 5% 5%
2573 4% 4% 5% 6%
2578 4% 5% 5% 6%
2583 5% 5% 5% 6%
Growth rate = 2.9%
2564 3% 3% 4% 5%
2568 4% 4% 5% 5%
2573 4% 4% 5% 6%
2578 5% 5% 6% 6%
2583 5% 5% 6% 7%
Growth rate = 2.3%
2564 3% 3% 4% 5%
2568 4% 4% 5% 6%
2573 4% 5% 5% 6%
2578 5% 5% 6% 7%
2583 6% 6% 6% 7%
Growth rate = 1.7%
2564 3% 3% 4% 5%
2568 4% 4% 5% 6%
2573 5% 5% 6% 7%
2578 6% 6% 6% 7%
2583 6% 7% 7% 8%
1 2 3 4
รูปแบบ
เมือประเมินเป นสัดส่วนของ
GDP จะเพิมขึนร้อยละ 1-2
GGE scenario 2: Cap 18%
GDP growth rate = 4.1%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 20% 21% 25% 29%
2573 22% 23% 26% 30%
2578 23% 24% 26% 30%
2583 23% 24% 26% 30%
GDP growth rate = 3.5%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 20% 21% 25% 30%
2573 23% 24% 27% 32%
2578 24% 25% 28% 33%
2583 26% 26% 29% 33%
GDP growth rate = 2.9%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 21% 22% 26% 30%
2573 24% 25% 29% 33%
2578 26% 27% 31% 35%
2583 28% 29% 32% 37%
GDP growth rate = 2.3%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 21% 22% 26% 31%
2573 25% 26% 30% 35%
2578 28% 30% 33% 38%
2583 32% 32% 36% 41%
GDP growth rate = 1.7%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 21% 23% 27% 31%
2573 26% 27% 31% 37%
2578 31% 32% 36% 41%
2583 35% 36% 40% 45%
ัดสวนงบประมาณภาครฐสําหรบบานาญผู้สูงอายุทงหมด ต GGE
GGE scenario 3: Cap 20%
GDP growth rate = 4.1%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 19% 20% 24% 28%
2573 20% 21% 24% 28%
2578 20% 21% 24% 27%
2583 21% 21% 23% 27%
GDP growth rate = 3.5%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 20% 21% 25% 29%
2573 21% 22% 25% 29%
2578 22% 23% 26% 30%
2583 23% 24% 26% 30%
GDP growth rate = 2.9%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 20% 21% 25% 29%
2573 22% 23% 26% 30%
2578 24% 25% 28% 32%
2583 26% 26% 29% 33%
GDP growth rate = 2.3%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 21% 22% 25% 30%
2573 23% 24% 27% 32%
2578 26% 27% 30% 34%
2583 28% 29% 32% 37%
GDP growth rate = 1.7%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 21% 22% 26% 30%
2573 24% 25% 29% 33%
2578 28% 29% 32% 37%
2583 32% 33% 36% 41%
GGE scenario 1: Historical Rate
GDP growth rate = 4.1%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 19% 20% 24% 28%
2573 20% 21% 24% 28%
2578 19% 20% 22% 26%
2583 18% 19% 21% 24%
GDP growth rate = 3.5%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 20% 21% 25% 29%
2573 21% 22% 25% 29%
2578 21% 21% 24% 28%
2583 20% 21% 23% 26%
GDP growth rate = 2.9%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 20% 21% 25% 29%
2573 22% 23% 26% 30%
2578 22% 23% 26% 30%
2583 22% 23% 25% 29%
GDP growth rate = 2.3%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 21% 22% 25% 30%
2573 23% 24% 27% 32%
2578 24% 25% 28% 32%
2583 25% 26% 28% 32%
GDP growth rate = 1.7%
2564 19% 20% 24% 28%
2568 21% 22% 26% 30%
2573 24% 25% 29% 33%
2578 26% 27% 30% 35%
2583 28% 29% 31% 36%
1 2 3 4
รูปแบบ
1 2 3 4
รูปแบบ
1 2 3 4
รูปแบบ
96
สรปผลวิเคราะห์งบประมาณและช่องว่างทางการคลัง
ในระยะยาว การเพิมเบียยังชีพ เปนถ้วนหน้า 3 พันบาท ก็ยังน้อยกว่า งบประมาณสําหรับบํานาญข้าราชการ
การเพิมความคุ้มครองเปน “บานาญพืนฐาน” ให้ผู้สูงอายุทีอยู่นอกระบบ โดยมีการออมสะสม จะใช้งบประมาณเพิมขึ
อย่างมาก แต่ก็ยังน้อยกว่างบประมาณสาหรับบานาญข้าราชการในเกือบทุกกรณ (ยกเว้นรูปแบบ 4 ในตอนเริมต้น)
เมือเปรียบเทียบงบประมาณ “บํานาญพนฐาน” พิจารณาจาก “ส่วนเพิมเติมจากเบียยังชพ” รูปแบบ 4 จะต้องใช้
งบประมาณเพิมอีกประมาณ 4 เท่า แต่ก็ยังน้อยกว่างบประมาณสาหรับบานาญข้าราชการ
เมือพิจารณาฉากทัศน์ทีอยู่ประมาณตรงกลาง (moderate scenarios) รูปแบบที 1-4 จะทําให้งบประมาณ
านาญทังหมดคิดเปนสัดส่วนของ GDP ใกล้เคียงกัน
แต่ถ้าพิจารณาจากสัดส่วนของ GGE รูปแบบ 1 และ 4 จะแตกต่างกันประมาณ 10% ของ GGE
งบประมาณบานาญทังหมด เปนไปได้ และ จําเปต้องหาแหล่งรายได้เพิมขึ
97
ข้อพิจารณาเชิงนโยบาย
ลดความเหลือมลํา และ เพิมความเปนธรรม
เพิมงบประมาณสาหรับบานาญพืนฐานให้ผู้สูงอายุ เพือคุ้มครองความยากจนทังสังค
รีบขับเคลือน เพือบรรเทาผลจาก “สึนามิประชากร” รุ่นเกิดลาน
98
การวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรการเมือง (Political Economy Analysis)
99
สัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิด้านการคลัง เศรษฐศาสตร์สวัสดิการ และความคุ้มครองทางสังคมสําหรับผู้สูงอายุ ตลอด
จนถึงกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียในเรืองระบบบานาญแห่งชาติ เพือรับฟงข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
ช่วยสรางความรูความเข้าใจในบริบททางเศรษฐศาสตร์การเมืองทีเกียวข้องกับการคลังสาหรับระบบบํานาญแห่งชาติ
าหนดกลยุทธ์ผลักดันทางการเมืองในการปฏิรูปภาษี เพือลดแรงตานทาน และแสวงหาแนวร่วม
พิจารณาแนวทางในการหารายได้สาหรับระบบบานาญแห่งชาติในอนาคต
การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตรการเมือง (Political Economy Analysis)
วิธีวิจัย
100
1. นพ.วิชัย โชควิวัฒน (สภาผู้สูงอายุ)
2. คุณนิมิตร์ เทียนอุดม (ประชาชนเพือรัฐสวัสดิการ)
3. คุณนิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์ (We Fair)
4. คุณ ข.อ. (อดีต HelpAge)
เครือข่ายประชาชน
5. รศ.ดร. ม.อ. (จุฬาฯ)
6. ผศ.ดร. ศ.ภ. (จุฬาฯ)
7. ผู้แทนจากศูนย์นโยบายเพืออนาคต
8. รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี (มธ.)
9. ศ.ดร.พ.อ. (มธ.)
10. ดร.นฎา วะสี (สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป วยฯ)
นักวิชาการ
11. คุณ ว.น. (กระทรวงการคลัง)
12. คุณ ม.ศ. (กระทรวง พ.ม.)
ข้าราชการประจํา
18. คุณศุภสัณห์ หนูสวัสดิ
(เลขาธิการสมาคมสันนิบาตเทศบาล)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิน
14. คุณศิริกัญญา ตันสกุล
(พรรคก้าวไกล)
15. คุณธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ
(คณะก้าวหน้า)
พรรคการเมือง / กลุ่มการเมือง
20. คุณสฤณี อาชวานันทกุล
(ปาสาละ)
21. คุณสมคิด พุทธศรี
(เว็บไซต์ 101)
สือมวลชน
13. คุณ ช.ช.(อดีตกระทรวง พม.)
ข้าราชการบํานาญ
101
16. คุณ ต.ศ. (ตลาดหลักทรัพย์ฯ)
17. คุณ ป.อ. (คปภ.)
หน่วยงานทีเกียวข้องกับภาคธุรกิจ
19. ตัวแทนกลุ่มพลังคลับ
คนรุ่นใหม่
22. คุณอภิสิทธิ เวชชาชีวะ
(อดีตผู้กําหนดนโยบายเศรษฐกิจและสังคม)
อืนๆ
หมายเหตุ: ใช้ตัวย่อกรณีไม่ได้ระบุว่าอนุญาตให้เปิดเผยข้อมูลชือนามสกุลของผู้ให้สัมภาษณ์
102
102
103
103
104
104
ตัวแทนคนรุนใหม
ขาราชการประจํา/ ขาราชการบํานาญ
นักวิชาการ
สื่อมวลชน
ขาราชการเมือง/ กลุมการเมือง
ตัวแทนหนวยงานภาคธุรกิจ
เครือขายภาคประชาชน
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
บํานาญแบบไมรวมจาย บํานาญแบบรวมจาย
18% 18%
36% 45%
9% 23%
14% 23%
9%
68% 59% 64% 50%
82% 77%
การเพิ่ม
อัตรา VAT
Earmarked/
Surcharge
Tax
FTT / CGTภาษีที่ดินและ
สิ่งปลูกสราง
5%
ภาษีการ
รับมรดก
100%
ภาษีฐานเงินได
ผลสรปการสัมภาษณ์ผ้เชียวชาญเกียวกับการร่วมจ่ายและแหล่งรายได้
100%
ปฏิรประบบงบประมาณใหม่ เพิมหมวดเกียวกับสวัสดิการ ใช้กลไกกองทุน
นอกงบประมาณ
เห็นด้วย
ไม่มีความเห็น
ไม่เห็นด้วย
ไม่เห็นด้วย
ไม่มีความเห็น
เห็นด้วย
18%
73% 73%
9%
82%
23% 18%
4%
105
106
106
แนวทางการปฏิรปและตรวจสอบถ่วงดุลการใช้งบประมาณ
จัดหมวดหม่งบประมาณใหม่ และ
ลดรายจ่ายทีไม่ก่อให้เกิดผลิตภาพ
1
เพิมบทบาทสํานักงบประมาณของรัฐสภา
(Parliamentary Budget Office: PBO)
2
รวบรวมงบด้านสวัสดิการทีกระจัดกระจายมาจัดสรรใหม่
ในรูปสวัสดิการขันพืนฐาน (Social Protection Floor)
ปรับลดรายจ่ายด้านกลาโหมและการป้องกันประเทศ
เพิมงบลงทุนด้านการพัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital Investment)
เพือถ่วงดุลอํานาจกับสํานักงบประมาณของฝายบริหาร
จัดสรรให้มีงบประมาณทางเลือก (Alternative Budget)
เปดช่องทางให้มีการสํารวจเสียงสะท้อนของประชาชน (Public
Hearing) ว่าต้องการให้จัดสรรงบประมาณในรูปแบบใด
จัดทํางบประมาณแบบมีส่วนร่วม
(Participatory Budgeting)
3
ออกแบบโครงสรางของระบบงบประมาณ โดยกันเงินส่วนหนึง
ให้ประชาชนมีส่วนในการใช้เงินโดยตรง
ในระยะเริมต้น อาจเริมทําโครงการเปSandbox
กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน (อปท.) เพราะมีขนาดไม่ใหญ่
มาก และสามารถสะท้อนเสียงประชาชนได้ทัวถึง
107
1
2
ควรสือสารให้ชัดว่าสิงทีเสียไป (ภาษี) เพือให้ได้อะไรมา (สวัสดิการ/เบียยังชีพ)
ต้องสือสารกับคนรุ่นใหม่ ให้เข้ามามี Dialogue ใช้ Influencer แล้วจึงคุยกับ
ผู้กําหนดนโยบายหา Champion ในการพูดเรืองนีขององค์กร ชวนคนทีไม่คิดให้มาคิด
สามารถเน้นยําด้านบวกของสวัสดิการต่อเศรษฐกิจ เช่น
-เปนการกระตุ้นเศรษฐกิจ
(หาว่ามี Economic Multiplier เท่าไร)
-เปAutomatic Stabilizer
-รวมถึงลดความเหลือมลําในสังคม
การผลักดันโดยเฉพาะภาษีต้องําเปPackage โดยเฉพาะลดนโยบาย Pro-rich เริมต้นจากภาษฐานทรัพย์สิน ภาษี
ความมังคัง และภาษีทีมีแรงต้านจากคนส่วนใหญ่ตํา ๆ แล้วจึงขยายไปสู่ภาษทีจะส่งผลต่อคนส่วนใหญ่
เพือหาแรงสนับสนุนจากสังคมทีมีการพูดความเหลือมลําและสวัสดิการในมิติต่าง ๆ อยู่แล้ว
การผลักดันนโยบายต่าง ๆ อาศัยเจตจํานงทางการเมืองเปนสําคัญ และจะถ่ายทอดลงมายังผู้กําหนดนโยบายและข้าราชการใน
ระดับปฏิบัติงาน รวมถึงได้รับการผลักดันจากการเคลือนไหวของภาคประชาสังคมด้วย
กลยุทธ์ด้านการสือสาร กลยุทธ์ด้านเศรษฐกิจ
คุยบนฐาน %/GDP ง่ายกว่า บนฐาน %/งบประมาณ
ขณะเดียวกันการพูดในเชิงรายจ่ายต่อหัว จะสือสารกับสังคมได้สัมฤทธผลกว่า
รายจ่ายสวัสดิการ/GDP แม้กระทังรายจ่ายสวัสดิการ/งบประมาณ
กลยุทธ
ผลักดัน
กลยุทธ์โดยทัวไป
3
สามารถใช้โมเดลทีมีอยู่แล้ว อาทิ รปแบบองค์กรของ สปสช. เปนต้นแบบ
สามารถใช้วิกฤตโควิดเป็นโอกาสในการผลักดันด้านสวัสดิการได้ และทําให้เรืองบํานาญแห่งชาติเปนเรืองของทุกคน
108
ยุทธศาสตรการขับเคลือน
109
สร้ากาขับเลือนลักะขสาหลีขยืนภเข คือ
ภาควิชากา าคระชาชนภาคนโยบา ซึงมีความเข้มแข็
ของการเชือมโยงความร่วมมือระหว่างทังสามภาคส่วนพือจัดสรร
รัในารร้างคมเป็นธรมควมเลือลํา แล
จัดลําดับความสําคัญงบประมาณใหม่ (budget reprioritization)
110
ยุทธศาสตร์สามเหลียมเขยือนภูเขา
Reference: Wasi P (2000) Triangle that moves the mountain and health systems reform movement in Thailand.
Health Systems Research Institute (HSRI). https://www.who.int/hrh/en/HRDJ_4_2_06.pdf
ยุทธศาสตร์ในการขับเคลือนปัญหาทียากลําบากในสังคม (นพ.ประเวศวะสี)
ประเทศไทยเคยใช้ยุทธศาสตร์สามเหลียมเขยือนภูเขาจนสามารถสร้างระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้สําเร็จ
ความร่วมมือเชิงเครือข่ายทังภาคความรู้ ภาคความเคลือนไหวทางสังคมและ ภาคนโยบาย
ต้องทําให้การเชือมโยงความร่วมมือ (interconnectedness) เข้มแข็ง
111
หลงวิกฤตต้มยากุง ประเทศไทยสามารถมีระบบประกนสขภาพถ้วนหน้า
หลงวิกฤต COVID-19 ประเทศไทยควรจะมี “ระบบบํานาญทีพึงปรารถนา
สิงทีควรดําเนินการในขันต่อไป
าหนดให้ระบบบํานาญแห่งชาติ เปวาระแห่งชาติ (national agenda) ีมีหน่วยงานรับผิดชอบ
แก้ไขกฎหมายและระเบียบต่าง ๆีเปนข้อจากัด เพือให้มีการกําหนดสวัสดิการถ้วนหน้าด้านบํานาญ เป็นสิทธิขัน
พืนฐานทีประชาชนมีสิทธิไดับ และสามารถคุ้มครองความยากจน จากเส้นความยากจนในแต่ละป เช่น แก้ไข พรบ.
ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 เปน "พรบ.ผู้สูงอายุและบํานาญพนฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2546” พรอมทังแก้ไขให้เบียยังชีพผู้สูงอายุ
เปนบานาญพืนฐานแห่งชาติ และสามารถมีแหล่งรายได้เพิมมากขึนาหรับกองทุนผู้สูงอายุ ตามข้อเสนอของ
คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม สภาผู้แทนราษฎร (2564) เปนต้น
สรางระบบฐานข้อม โดยกําหนดให้ผู้ทีต้องการเบียผู้สูงอายุส่วนเพิมเปดเผยข้อมูลทีเกียวข้องตังแต่ในวัยทางาน
ส่งเสริมการจ้างงานผ้สงอายุให้เปนรูปธรรม ทังในระบบและนอกระบบ เพือสรางแรงจูงใจใหํางานนานขึน ขอรับ
านาญช้าลง และส่งเสริมการออม
เสนอให้มีการทบทวนนิยาม “การเริมนบอายุของผ้สงอายุ” ให้เพิมมากกว่า 60 ป และขยายเวลาในการ “เกษยณอายุ”
จากการทางาน (ทังภาครัฐและเอกชน) โดยอาจจําเปนต้องแก้ไขกฏหมายบางฉบับ
112
ResearchGate has not been able to resolve any citations for this publication.
ResearchGate has not been able to resolve any references for this publication.