ResearchPDF Available

การพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริงส่งเสริมการท่องเที่ยววัดมหาธาตุ

Authors:

Abstract

This study aims to 1) to development of augmented reality to promote tourism Mahathat Sukhothai Templequality 2) to study satisfaction in augmented reality. The target group was 30 first year undergraduate learners in the program of MultimediaTechnology and Animation at Rajabhat Mahasarakham University. The used tools are consisted of 1) the augmented reality to promote to tourism Mahathat Sukhothai Temple 2) students’ satisfaction form on the augmented reality to promote tourism Mahathat Sukhothai Temple. The statistics used are the mean and standard deviation. The results concluded as following: 1. The development of Augmented Reality to promote tourism Mahathat Sukhothai Temple had 3 results include 1) Maker tourism Mahathat Sukhothai Temple 8 models : Chief Pagoda Sanctuary Grand Hall Sanctuary is Chief Pagoda Sanctuary Grand Hall Temple High Chapel Footprint Pagoda bell Five Pagoda and Pagoda More 2) Mahathat Sukhothai Temple Model 8 Models is Chief Pagoda Sanctuary Grand Hall Temple High Chapel Footprint Pagoda bell Five Pagoda 3) Android application “AR New Theory Agricultural” on .apk file format. 2. The results showed that students’ satisfaction with the augmented reality to promote to tourism Mahathat Sukhothai Temple at the highest level.
The 5th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2017
การพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุ
อัฉราวุฒิ ศรีประไหม1 และ พจนศิรินทร ลิมปนันทน2
1สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชัน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
2สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชัน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
Emails: autcharawut.sri@gmail.com, potsirin.li@rmu.ac.th
บทคัดยอ
โครงงานนี้มีวัตถุประสงค 1)เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริง
สงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัยที่มีคุณภาพ 2)เพื่อศึกษา
ความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและ
แอนิเมชัน ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ที่มีตอ
เทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย
กลุมเปาหมายในการศึกษาครั้งนี้คือนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยี
มัลติมีเดียและแอนิเมชันชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม จํานวน 30 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษา
ประกอบดวย 1) สื่อเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการทองเที่ยว
วัดมหาธาตุสุโขทัย 2) แบบประเมินความพึงพอใจสถิติที่ใชคือ
คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบวา
1. การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการ
ทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย ไดผลลัพธ 3 อยาง คือ 1) Maker
วัดมหาธาตุสุโขทัย จํานวน 8 แบบคือ เจดียประธาน พระวิหาร
หลวง พระวิหารคือ เจดียประธาน พระวิหารหลวง พระวิหารสูง
พระอุโบสถ มณฑปพระอัฏฐารศ เจดียทรงระฆัง เจดียหายอด
และพระเจดียอื่นๆ 2) โมเดล วัดมหาธาตุสุโขทัย จํานวน 8
โมเดล คือ เจดียประธาน พระวิหารหลวง พระวิหารสูง พระ
อุโบสถ มณฑปพระอัฏฐารศ เจดียทรงระฆัง เจดียหายอด และ
พระเจดียอื่นๆ 3) แอพพลิเคชั่น AR Sukhothai รูปแบบไฟล
.apk
2. ความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยี
มัลติมีเดียและแอนิเมชันที่มีตอ เทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการ
ทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัยภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด
ABSTRACT
This study aims to 1) to development of
augmented reality to promote tourism Mahathat
Sukhothai Templequality 2) to study satisfaction in
augmented reality. The target group was 30 first year
undergraduate learners in the program of
MultimediaTechnology and Animation at Rajabhat
Mahasarakham University. The used tools are
consisted of 1) the augmented reality to promote to
tourism Mahathat Sukhothai Temple 2) students’
satisfaction form on the augmented reality to promote
tourism Mahathat Sukhothai Temple. The statistics
used are the mean and standard deviation.
The results concluded as following:
1. The development of Augmented Reality to
promote tourism Mahathat Sukhothai Temple had 3
results include 1) Maker tourism Mahathat Sukhothai
Temple 8 models : Chief Pagoda Sanctuary Grand Hall
Sanctuary is Chief Pagoda Sanctuary Grand Hall
Temple High Chapel Footprint Pagoda bell Five
Pagoda and Pagoda More 2) Mahathat Sukhothai
Temple Model 8 Models is Chief Pagoda Sanctuary
Grand Hall Temple High Chapel Footprint Pagoda bell
Five Pagoda 3) Android application “AR New Theory
Agricultural” on .apk file format.
2. The results showed that students’ satisfaction
with the augmented reality to promote to tourism
Mahathat Sukhothai Temple at the highest level.
คําสําคัญ-- เทคโนโลยีเสมือนจริง ; วัดมหาธาตุสุโขทัย;
ทองเที่ยว;
1. บทนํา
เทคโนโลยีเสมือนจริง(Augmented Reality หรือ AR)ถูก
พัฒนามาตั้งแตป ค.. 2004 ซึ่งจัดเปนแขนงหนึ่งของงานวิจัย
ดานวิทยาการคอมพิวเตอรวาดวยการเพิ่มภาพเสมือนของโมเดล
3 มิติที่สรางจากคอมพิวเตอรลงไปในภาพที่ถายมาจากกลอง
วิดีโอ เว็บแคม หรือกลองในโทรศัพทมือถือ แบบเฟรมตอเฟรม
ดวยเทคนิคทางดานคอมพิวเตอรกราฟกเทคโนโลยีเสมือนจริงถูก
นํามาประยุกตใชกับธุรกิจตางๆ ไมวาจะเปนดานอุตสาหกรรม
การแพทยการตลาด การบันเทิง การสื่อสาร โดยใชเทคโนโลยี
ความจริงเสมือนมาผนวกเขากับเทคโนโลยีภาพผานซอฟตแวร
MCG, Page 44
The 5th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2017
และอุปกรณเชื่อมตอตางๆ และแสดงผลผานหนาจอคอมพิวเตอร
หรือบนหนาจอโทรศัพทมือถือ ทําใหผูใชสามารถนําเทคโนโลยี
เสมือนจริงมาใชกับการทํางานไดหลากหลายรูปแบบเทคโนโลยี
เสมือนจริงเปนเทคโนโลยีใหมที่มีบทบาทสําคัญในวงการ
การศึกษาใน เชน การนํามาใชในการสอนคําศัพทภาษาอังกฤษ
โดยเทคโนโลยีเสมือนจริงชวยใหผูเรียนไดมีความเขาใจในคําศัพท
ภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น [1]เพิ่มความนาสนใจใหกับผูเรียนใน
รูปแบบ 3 มิติ ดึงดูดความสนใจผูเรียนใหเกิดการอยากเรียนรู
และชวยใหจดจําไดงายขึ้น
อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกําแพงเพชร
ไดรับการประกาศจาก UNESCO ขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก
ภายใตชื่อ "เมืองประวัติศาสตรสุโขทัยและเมืองบริวาร " [2] มี
สถาปตยกรรมที่โดดเดน นับเปนตัวแทนของศิลปกรรมไทยยุค
แรก ภายในกําแพงเมืองอนุสรณสถานสุโขทัยที่สําคัญ ไดแกวัด
มหาธาตุวัดตระพังเงินวัดศรีสวาย วัดตระพังทองวัดสรศักดิ์เปน
ตนซึ่งในที่นี้วัดมหาธาตุเปนวัดสําคัญที่สุดตั้งอยูกลางเมืองสุโขทัย
สันนิษฐานวาสรางขึ้นตั้งแตแรกเริ่มสถาปนาราชธานีสุโขทัย โดย
พอขุน-ศรีอินทราทิตย เมื่อราวปลายพุทธศตวรรษที่ 18 ภายใน
วัดประกอบดวย กําแพงและคูน้ําลอมรอบ เจดียประธานทรงพุม
ขาวบิณฑหรือทรงยอดดอกบัวตูม วิหาร มณฑป อุโบสถ และ
เจดียรายมีจํานวนมากถึง 200 องค เจดียประธานทรงยอดดอก
บัวตูม เปนเจดียที่แสดงถึงเอกลักษณของศิลปะสุโขทัยบริสุทธิ์
สะทอนใหเห็นถึงความเปนอิสระจากอํานาจของเขมร และความ
เปนราชธานีแหงแรกของราชอาณาจักรไทย รอบเจดียประธาน
รายลอมดวยปรางคทิศ 4 องค ที่ยังคงแสดงอิทธิพลศิลปะขอม
แตปูนปนประดับแสดงภาพพุทธประวัติที่ไดรับอิทธิพลศิลปะ
ลังกา และเจดียประจํามุมอีก 4 องคเปนเจดียทรงปราสาทหา
ยอด ที่มีอิทธิพลของศิลปะลานนารอบฐานเจดียประธาน ประดับ
ดวยภาพปูนปนรูปพระสาวกในทาอัญชุลีเดินประทักษิณโดยรอบ
จํานวน 168 รูป เจดียประธานนี้ขนาบขางดวยมณฑป 2 หลัง
ภายในประดิษฐานพระอัฏฐารศหรือพระพุทธรูปยืนสูง 18 ศอก
ดานหนาของเจดียประธาน เปนที่ตั้งของพระวิหารหลวง สําหรับ
ประดิษฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ขนาดใหญ หรือพระพุทธรูปทอง
ที่ปรากฏชื่อในศิลาจารึกหลักที่ 1 ซึ่งตอมาพระบาทสมเด็จพระ
พุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช แหงกรุงรัตนโกสินทร ไดอัญเชิญไป
ประดิษฐาน ณ วิหารหลวง วัดสุทัศนเทพวราราม
กรุงเทพมหานคร หนาวิหารหลวงเปนที่ตั้งของวิหารสูงสรางใน
สมัยอยุธยาดานทิศใตของเจดียประธาน ยังมีเจดียขนาดใหญ
เรียกวาเจดียหายอด ที่พบจารึกลานทอง ระบุเปนที่นาเชื่อวาเปน
ที่บรรจุอัฐิของพระมหาธรรมราชาลิไทดวย
ผูศึกษาจึงเกิดแนวคิดและแรงบันดาลใจที่จะพัฒนาการ
ทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัยใหมีความนาสนใจมากยิ่งขึ้นโดยนํา
เทคโนโลยีเสมือนจริง ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่กําลังไดรับความสนใจ
และเลือกใชการแสดงผลในรูปแบบภาพสามมิติในลักษณะ
แสดงผลทันที(real time) มาใชในการพัฒนาสื่อนําเสนอสถานที่
ทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัยใหเกิดความนาสนใจเมื่ออยูใน
รูปแบบเทคโนโลยี 3 มิติและสามารถนําไปประยุกตใชในการ
เรียนการสอน เพื่อใหผูสอนสามารถอธิบายใหผูเรียนเขาใจมาก
ยิ่งขึ้น
2. วัตถุประสงคการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการทองเที่ยววัด
มหาธาตุสุโขทัย ที่มีคุณภาพ
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยี
มัลติมีเดียและแอนิเมชันที่มีตอเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการ
ทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย
3. วิธีดําเนินการวิจัย
1. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
1.1 เทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุ
สุโขทัย
1.2 แบบประเมินคุณภาพของเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริม
การทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย
1.3 แบบประเมินความพึงพอใจที่มีตอเทคโนโลยีเสมือนจริง
สงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย
2. กลุมเปาหมาย
กลุมเปาหมาย คือ นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย
และแอนิเมชัน ชั้นปที่ 1 จํานวน 30 คน
3. วิธีการดําเนินการสรางเครื่องมือ
3.1 การสรางเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการทองเที่ยววัด
มหาธาตุสุโขทัย ผูศึกษาดําเนินงานครั้งนี้โดยยึดหลักการพัฒนา
สื่อเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย
ตามหลักการสราง Augmented Reality
3.1.1 การออกแบบ Marker ผูศึกษาทําการออกแบบ
Marker สําหรับการทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย จํานวน 8
รูปแบบ
1) ออกแบบ Mock up ของ Marker
รูปที่ 1. การออกแบบ Mock up ของ Marker เจดียประธาน
MCG, Page 45
The 5th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2017
2) จัดทํา Marker ตาม Mock up ที่ไดออกแบบไว
รูปที่ 2. Marker เจดียประธาน
3) ผูศึกษาทําการ Generator Marker วัดมหาธาตุสุโขทัย
ทั้ง 8 ภาพ
3.1.2 การสรางโมเดล ผูศึกษาปนโมเดลวัดมหาธาตุสุโขทัยใน
รูปแบบ 3 มิติ 8 แบบ ประกอบดวย เ จดียประธาน พระวิหาร
หลวง พระวิหารสูง พระอุโบสถ มณฑปพระอัฏฐารศ เจดียทรง
ระฆังจดียหายอด และเจดียอื่นๆ
รูปที่ 3. โมเดลมณฑปพระอัฏฐารศ
3.1.3 การเขียนโปรแกรม
1) เขียนโปรแกรมโดยใช Vuforia ในการพัฒนา
2) Import โมเดลเขาโปรแกรม unity
3) Export Program ชื่อ AR Sukhothai ออกมาอยูใน
รูปแบบไฟล .apk เพื่อนําไปใชงานกับระบบปฏิบัติการแอน
ดรอยด
รูปที่ 4. แอพพลิเคชั่น AR สุโขทัย บน google play
3.2 ารสรางแบบประเมินคุณภาพของเทคโนโลยีเสมือนจริง
สงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย
3.2.1 ศึกษาและปรับปรุงมาจากแบบประเมินคุณภาพสื่อ
ของ กองเกียรติ วิจิตรขจี [3] ที่ไดทําการวิจัยเรื่องการพัฒนา
เทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการเรียนรูศัพทภาษาอังกฤษ เปน
แบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิรท (Likert)
โดยกําหนดเกณฑการประเมินแปรผลตามคาเฉลี่ย ดังนี้ [4]
4.51 5.00 มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด
3.51 4.50 มีความเหมาะสมในระดับมาก
2.51 3.50 มีความเหมาะสมในระดับปานกลาง
1.51 2.50 มีความเหมาะสมในระดับนอย
0.51 1.50 มีความเหมาะสมในระดับนอยที่สุด
3.2.2 นําแบบประเมินคุณภาพที่ปรับปรุงแลวเสนอที่ปรึกษา
พิจารณาตรวจสอบ
3.2.3 ผูศึกษาแกไขแบบประเมินคุณภาพตามที่ที่ปรึกษา
แนะนํา
3.2.4 พิมพแบบประเมินคุณภาพฉบับสมบูรณเพื่อนําไปใช
เก็บรวบรวมขอมูลตอไป
3.3 การสรางแบบประเมินความพึงพอใจที่มีตอเทคโนโลยี
เสมือนจริงสงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย
3.3.1 สรางแบบประเมินความพึงพอใจ ผูศึกษาสราง
แบบสอบถามโดยอางอิงจากงานวิจัยเรื่องการพัฒนาการตูน
แอนิเมชันเพื่อเพิ่มศักยภาพการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรม [5]
เปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ [6] ตามวิธีของลิเคิรท
(Likert) โดยกําหนดเกณฑการประเมินแปรผลตามคาเฉลี่ย ดังนี้
4.51 5.00 มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด
3.51 4.50 มีความเหมาะสมในระดับมาก
2.51 3.50 มีความเหมาะสมในระดับปานกลาง
1.51 2.50 มีความเหมาะสมในระดับนอย
0.51 1.50 มีความเหมาะสมในระดับนอยที่สุด
3.3.2 นําแบบประเมินความพึงพอใจเสนอที่ปรึกษาพิจารณา
ตรวจสอบใหขอแนะนํา
3.3.3. ผูศึกษาแกไขแบบและเมินความพึงพอใจตามที่ปรึกษา
แนะนํา
3.3.4 พิมพแบบแบบประเมินความพึงพอใจฉบับสมบูรณเพื่อ
นําไปใชเก็บรวบรวมขอมูลตอไป
4. ผลการวิจัย
1.ผลจากการพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการ
ทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย พบวา ไดผลลัพธหลัก 3 อยาง คือ
1.1 Maker วัดมหาธาตุสุโขทัย จํานวน 8 แบบ คือ เจดีย
ประธาน พระวิหารหลวง พระวิหารสูง พระอุโบสถ มณฑปพระ
อัฏฐารศ เจดียทรงระฆัง เจดียหายอด และพระเจดียอื่นๆ
MCG, Page 46
The 5th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2017
1.2 โมเดล วัดมหาธาตุสุโขทัย จํานวน 8 โมเดล คือ เจดีย
ประธาน พระวิหารหลวง พระวิหารสูง พระอุโบสถ มณฑปพระ
อัฏฐารศ เจดียทรงระฆัง เจดียหายอด และพระเจดียอื่นๆ
1.3 แอพพลิเคชั่น AR Sukhothai สามารถมองเห็นโมเดล
วัดมหาธาตุสุโขทัย ทั้ง 8 โมเดล จาก Marker วัดมหาธาตุสุโขทัย
ในรูปแบบโมเดล 3 มิติ และสามารถดาวนโหลดไดที่ google
play (https://play.google.com/store/apps/details?id=
com.Hoshi.ArSukhothai)
ผลการประเมินคุณภาพเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการ
ทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัยจากผูเชี่ยวชาญโดยภาพรวมอยูใน
ระดับมากที่สุด (
Χ
=4.67, S.D.=0.55)
2. ผลการประเมินความพึงพอใจสื่อเทคโนโลยีเสมือนจริง
สงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย ในรูปแบบแอพพลิเคชั่น
AR Sukhothai จากนักศึกษานักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยี
มัลติมีเดียและแอนิเมชัน ชั้นปที่ 1ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา
2559 จํานวน 30 คน มีระดับความพึงพอใจในระดับมากที่สุด
(
Χ
=4.77, S.D.=0.41)
ตาราง 1. ผลการประเมินความพึงพอใจเทคโนโลยีเสมือนจริง
สงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย
หัวขอประเมิน
ผลการประเมิน
Χ
S.D. การแปล
ความหมาย
1
Marker มีความ
สวยงาม
4.87 0.35
เหมาะสม
มากที่สุด
2
Marker สื่อ
ความหมายได
4.63 0.56
เหมาะสม
มากที่สุด
3
Marker มีความ
เหมาะสม
4.77 0.50
เหมาะสม
มากที่สุด
4
Model 3 มิติ มี
ความสวยงาม
4.83 0.38
เหมาะสม
มากที่สุด
5 Model 3 มิติ มี
ความนาสนใจ
4.80 0.48 เหมาะสม
มากที่สุด
6 Texture ที่ใชมี
ความสมจริง
4.70 0.53 เหมาะสม
มากที่สุด
7 Model 3 มิติ สื่อ
ความหมายตาม
Marker
4.80 0.41
เหมาะสม
มากที่สุด
8 Application
ทํางานไดถูกตอง
4.73 0.52 เหมาะสม
มากที่สุด
9
Application มี
ความเหมาะสมกับ
งาน
4.77 0.43
เหมาะสม
มากที่สุด
10
ทานมีความ
ประทับใจสื่อ
เทคโนโลยีเสมือน
จริงสงเสริมการ
ทองเที่ยววัด
มหาธาตุสุโขทัย
4.77 0.43
เหมาะสม
มากที่สุด
รวม
4.77 0.46
เหมาะสม
มากที่สุด
5. อภิปรายผลการวิจัย
การพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการทองเที่ยววัด
มหาธาตุสุโขทัยสําเร็จสมบูรณ และไดรับผลการประเมินคุณภาพ
จากผูเชี่ยวชาญอยูในระดับความเหมาะสมมากที่สุด และมีผล
ความพึงพอใจจากกลุมเปาหมายที่ทําการทดลองอยูในระดับมาก
ที่สุด ทั้งนี้เกิด จากในกระบวนการพัฒนา ที่ผูศึกษาไดแบงการ
ทํางานเปนขั้นตอนที่ชัดเจน โดยแบงขั้นตอนการทํางานออกเปน
3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการออกแบบ Marker ขั้นตอนการปน
โมเดล และขั้นตอนการเขียนโปรแกรม โดยในแตละขั้นตอนผู
ศึกษาไดใหที่ปรึกษาเปนผูตรวจสอบและใหคําแนะนําอยาง
ตอเนื่อง ซึ่งผูศึกษาพบวาไดผลลัพธหลัก 3 อยาง คือ 1) Maker
วัดมหาธาตุสุโขทัย จํานวน 8แบบ คือ เจดียประธาน พระวิหาร
หลวง พระวิหารสูง พระอุโบสถ มณฑปพระอัฏฐารศ เจดียทรง
ระฆัง เจดียหายอด และพระเจดียอื่นๆ2) โมเดล วัดมหาธาตุ
สุโขทัย จํานวน 8โมเดล เจดียประธาน พระวิหารหลวง พระ
วิหารสูง พระอุโบสถ มณฑปพระอัฏฐารศ เจดียทรงระฆัง เจดีย
หายอด และพระเจดียอื่นๆ3) แอพพลิเคชั่น AR Sukhothai
สามารถมองเห็นโมเดลวัดมหาธาตุสุโขทัย ทั้ง 8 โมเดล จาก
Marker วัดมหาธาตุสุโขทัยในรูปแบบโมเดล 3 มิติ เทคโนโลยี
เสมือนจริงสงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย สามารถ
นําเสนอสถานที่ทองเที่ยวใหออกมาในรูปแบบหนังสือที่มี โมเดล
3 มิติ ออกมาจากหนังสือ ใหภาพเสมือนเห็นสถานที่นั้นจริงๆ มี
การพัฒนาโดยผานการตรวจสอบความถูกตองจากที่ปรึกษาและ
ใหคําแนะนําดวยเทคนิควิธีการแลวนําสื่อที่พัฒนาขึ้นไปให
ผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกตองและความสมบูรณจากนั้นทํา
การปรับปรุงตามที่ไดรับคําแนะนํา Marker วัดมหาธาตุสุโขทัยมี
ความสวยงามและเหมาะสมกับงาน โมเดล 3 มิติ มีความ
นาสนใจ สื่อความหมายตาม Marker ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย
ของทรงศักดิ์ บูรณะ [6] ไดทําการวิจัยเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยี
เสมือนจริงสงเสริมหลักเกษตรทฤษฎีใหมขั้นตนตามแนว
พระราชดําริ ผลจากการศึกษาพบวาการการพัฒนาเทคโนโลยี
เสมือนจริงสงเสริมหลักเกษตรทฤษฎีใหมขั้นตนตามแนว
พระราชดําริ ไดผลลัพธ 3 อยาง คือ 1) marker เกษตรทฤษฎี
ใหมขั้นตน จํานวน 4 สวน คือ ที่อยูอาศัย นาขาว สระกักเก็บน้ํา
MCG, Page 47
The 5th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2017
ปลูกพืชผักผลไม 2) โมเดล พื้นที่เกษตรทฤษฎีใหมขั้นตนจํานวน
4 โมเดล คือ พื้นที่ที่อยูอาศัย พื้นที่นาขาว พื้นที่สระกักเก็บน้ํา
พื้นที่ปลูกพืชผลไม 3) แอพพลิเคชั่น AR New Theory
Agricultural รูปแบบไฟล .apk และความพึงพอใจของนักศึกษา
สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชั่นภาพรวมอยูในระดับ
มากที่สุดModel 3 มิติ มีความสวยงาม Application มีความ
เหมาะสมกับงาน สอดคลองกับงานวิจัยของ กองเกียรติ วิจิตขจี
[7] ไดทําการวิจัยเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริม
การเรียนรูศัพทภาษาอังกฤษ ผลจากการศึกษาพบวา สื่อ
เทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริมการเรียนรูศัพทภาษาอังกฤษ
ประกอบดวย 4 Markerตามคําศัพทภาษาอังกฤษ คือ Rabbit
Cat Fish Dog และ Birdนําเสนอในรูปแบบ Augmented
Reality แสดงผลรูปแบบ 3 มิติ ผลจากการประเมินคุณภาพจาก
ผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน ในภาพรวมพบวา มีความพึงพอใจอยู
ในระดับ มาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.70 และสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเทากับ 0.40ดังนั้น สามารถสรุปไดวาสื่อเทคโนโลยี
เสมือนจริงสงเสริมการเรียนรูศัพทภาษาอังกฤษนี้ มีคุณภาพอยู
ในระดับที่ดีโดยผูวิจัยทั้งสองไดใชกระบวนการสราง AR ในการ
พัฒนาสื่อเทคโนโลยีเสมือนจริงเชนเดียวกันกับผูศึกษาซึ่งไดใช
กระบวนการสราง AR อยางเปนชั้นตอนสงผลใหไดสื่อเทคโนโลยี
เสมือนจริงสงเสริมการทองเที่ยววัดมหาธาตุสุโขทัย
6. เอกสารอางอิง
[1] ทรงศักดิ์ บูรณะ. การพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริม
หลักเกษตรทฤษฎีใหมขั้นตนตามแนวพระราชดําริ.
วท..(เทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชัน) : มหาวิทยาลัยราช
ภัฏมหาสารคาม. 2559.
[2] สํานักงานจังหวัดสุโขทัย. http://www.sukhothai.go.th/
(ออนไลน) สืบคนเมื่อ 10 กรกฎาคม 2559.
[3] กองเกียรติ วิจิตขจี. การพัฒนาการพัฒนาเทคโนโลยีเสมือน
จริงสงเสริมการเรียนรูศัพทภาษาอังกฤษ. วท..(เทคโนโลยี
มัลติมีเดียและแอนิเมชัน) : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
2558.
[4] บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 7. กรงเทพฯ
: สุวีริยาสาสน. 2545.
[5] พจนศิรินทร ลิมปนันทน. การพัฒนาการตูนแอนิเมชันเพื่อ
เพิ่มศักยภาพการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรม. คณะเทคโนโลยี
สารสนเทศ : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 2556.
[6] ทรงศักดิ์ บูรณะ. การพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริงสงเสริม
หลักเกษตรทฤษฎีใหมขั้นตนตามแนวพระราชดําริ.
วท..(เทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชัน) : มหาวิทยาลัยราช
ภัฏมหาสารคาม. 2559.
[7] กองเกียรติ วิจิตขจี. การพัฒนาการพัฒนาเทคโนโลยีเสมือน
จริงสงเสริมการเรียนรูศัพทภาษาอังกฤษ. วท..(เทคโนโลยี
มัลติมีเดียและแอนิเมชัน) : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
2558.
MCG, Page 48
ResearchGate has not been able to resolve any citations for this publication.
ResearchGate has not been able to resolve any references for this publication.